กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี รหัส กปท. L3338

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตเพื่อสร้างสุขผู้สูงอายุ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมผู้สูงอายุตำบลฝาละมี
กลุ่มคน
1. นายอุดม สุระกำแหง
2. นายเจริญ สุวรรณเจริญ
3. นางเอื้อมพร ชนะเทพ
4. นางเพียร กวดขัน
5. นางทัศนีย์สุขบัวแก้ว
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากร ผู้สูงอายุไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ พบว่า ปัจจุบันประเทศไทย มีประชากร 64.9224 ล้านคน มีจานวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.02 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 15.43 จานวนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป เท่ากับ 6.70 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 10.32 ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่าสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ โดยอัตราของประชากรผู้สูงอายุไทยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยในปี พ.ศ. 2557 มีสัดส่วนผู้สูงอายุ อยู่ที่ร้อยละ 10.7 ของประชากรรวม หรือ 7.02 ล้านคน และในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 12.8 ของประชากรรวม (8.3 ล้านคน) ปัจจุบันประเทศไทยมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ14.7 (9.5 ล้านคน) และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ 20 (14.4 ล้านคน) นั่นหมายถึงว่าประเทศไทยได้เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้ดำเนินงานพัฒนาตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบันการดำเนินงานตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อช่วยผลักดันการดำเนินงานของภาคส่วนต่างๆ ให้มีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทั้งในสถานบริการสุขภาพและในชุมชน โดยมีผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นชุมชน และสังคมได้ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1: ติดสังคม) รวมตัวกันเป็นชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็งที่จะส่งเสริมสนับสนุน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2: ติดบ้าน) และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่3 : ติดเตียง) ให้เป็นผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ตำบลบ้านฝาละมี ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลฝาละมี รวมถึงเข้าใจ สภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ตำบลฝาละมี และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุอำเภอปากพะยูน รวมถึงกลุ่มชมรมผู้สูงอายุในตำบลฝาละมีโดยเพิ่มแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมเป็นแบบ “สังคมเพื่อคนทุกวัย และผู้สูงอายุยุคใหม่ ห่วงใยใส่ใจสุขภาพ” โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้าน การส่งเสริมพัฒนาเกี่ยวกับสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจภูมิปัญญาของผู้สูงอายุและครอบครัว และเพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ การต่อยอด การพัฒนาผู้สูงอายุไปสู่เป้าหมาย ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคม ภูมิปัญญา เศรษฐกิจ และสุขภาพ โดยไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
    ขนาดปัญหา 38.00 เป้าหมาย 36.00
  • 2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง
    ขนาดปัญหา 38.00 เป้าหมาย 36.00
  • 3. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 250.00 เป้าหมาย 300.00
  • 4. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
    ขนาดปัญหา 12.00 เป้าหมาย 8.00
  • 5. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 7.00 เป้าหมาย 9.00
  • 6. เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
    ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 125.00 เป้าหมาย 150.00
  • 7. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 10.00
  • 8. เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
    ตัวชี้วัด : แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 38.00 เป้าหมาย 40.00
  • 9. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 2.00
  • 10. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
    ขนาดปัญหา 35.00 เป้าหมาย 30.00
  • 11. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
    ขนาดปัญหา 45.00 เป้าหมาย 40.00
  • 12. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 35.00
  • 13. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 55.00 เป้าหมาย 60.00
  • 14. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
    ขนาดปัญหา 25.00 เป้าหมาย 20.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดกิจกรรมประชุมผู้สูงอายุประจำเดือน
    รายละเอียด

    ประชุมจัดกิจกรรมผู้สูงอายุประจำเดือน ทุกวันที่ 12 ของเดือน - ตรวจสุขภาพ,สภาวะสุขภาพ- การส่งเสริมการออกกำลังกาย - สวดมนต์,นั่งสมาธิ - ความรู้/การดูแลตนเอง/โรคผู้สูงอายุ - การจัดสวัสดิการแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุด้านต่างๆ
    ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. การจัดกิจกรรมให้ความรู้ การพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต แก่แกนนำผู้สูงอายุในตำบล
    รายละเอียด

    การจัดกิจกรรมให้ความรู้ การพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต แก่แกนนำผู้สูงอายุในตำบล
    - การส่งเสริมการออกกำลังกาย , การส่งเสริมการปลูกผัก การกินอาหารเป็นยาการส่งเสริมสุขภาพจิต การเยี่ยมผู้สูงอายุกลุ่มเปราะบางในชุมชน มีค่าใช้จ่ายดังนี้
    - ค่าอาหารมื้อกลางวัน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท จำนวน100 คน เป็นเงิน 7,000 บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บาทจำนวน100 คน เป็นเงิน 5,000 บาท
    • ค่าป้ายโครงการ ป้ายละ1,000 บาท


    • ค่าวัสดุ อุปโภค บริโภค แก่ผู้สูงอายุกลุ่มเปราะบาง เป็นเงิน 3,300 บาท
    • ค่าเข่าเหมา เต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ และเครื่องเสียง สำหรับกิจกรรม 9,400 บาท

      รวมเป็นเงิน 25,700บาท

    งบประมาณ 25,700.00 บาท
  • 3. จัดกิจกรรมมหกรรมการส่งเสริมสุขภาพ กาย และจิต
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมมหกรรมการส่งเสริมสุขภาพ กาย และจิต - ตรวจประเมินสมรรภาพทางกาย และประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้สูงอายุ - กิจกรรมทางกายแก่ผู้สูงอายุโดยบูรณาการกับกิจกรรม อาหารเพื่อสุขภาพ

    มีค่าใช้จ่ายดังนี้
    - ค่าวัสดุจัดกิจกรรม ของขวัญ รางวัล ผู้สูงอายุ สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี เป็นเงินจำนวน 3,100 บาท

    งบประมาณ 3,100.00 บาท
  • 4. กิจกรรมการอบรมรมให้ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา
    รายละเอียด

    ส่งเสริมกิจกรรมการอบรมรมให้ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การส่งเสริมสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา เช่น วันมาฆบูชาวันเข้าพรรษา และวันวิสาขบูชา เป็นต้น มีค่าใช้จ่ายดังนี้ • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม สำหรับผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน100 คน ๆละ 25 บาทต่อมื้อ จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 2,500 บาท • ค่าเช่าเหมาพาหนะดินทางไปทำกิจกรรมนอกสถานที่ คัน ๆ ละ 8,000 บาท จำนวน 2 คัน เป็นเงิน 16,000 บาท • รวม18,500 บาท

    งบประมาณ 18,500.00 บาท
  • 5. ส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ อิสลาม ด้วยการฟังธรรม การสวดคัมภีร์อัลกุรอ่าน การเรียนรู้กับชุมชนผู้สูงอายุต้นแบบ
    รายละเอียด

    อบรมพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ ส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ อิสลาม ด้วยการฟังธรรม การสวดคัมภีร์อัลกุรอ่าน การเรียนรู้กับชุมชนผู้สูงอายุต้นแบบ จำนวน40 คน หลักสูตร 2 วัน
    -ค่าอาหารมื้อกลางวัน อาหารมื้อเย็นจำนวน3 มื้อๆละ 70 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 8,400 บาท

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม3มื้อๆละ 25 บาทจำนวน 40 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
    - ค่าบำรุงที่พัก จำนวน40 คน ๆละ 100 บาท เป็นเงิน4,000 บาท
    - ค่าสมนาคุณตอบแทนวิทยากรการอบรม จำนวน6ชั่วโมงๆ 600 บาท เป็นเงิน3,600 บาท

    - ค่าเช่าเหมารถบัสโดยสาร จำนวน 1 คัน วันละ8,000 บาทต่อคัน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 16,000 บาท
    -

    รวมเป็นเงิน 35,000 บาท

    งบประมาณ 35,000.00 บาท
  • 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ แกนนำ กรรมการผู้สูงอายุ ระดับตำบล
    รายละเอียด

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ แกนนำ กรรมการผู้สูงอายุ ระดับตำบล โดยจัดกิจกรรมอบรม และศึกษาดูงานชมรมผู้สูงอายุ ต้นแบบ
    โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ -ค่าอาหารมื้อกลางวัน อาหารมื้อเย็นและมื้อเช้า จำนวน2 มื้อๆละ 70 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 21,000 บาท • ค่าบำรุงสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม/ที่พัก เป็นเงิน 15,000 บาท -ค่าสมนาคุณตอบแทนวิทยากรการอบรม จำนวน 6 ชั่วโมงๆ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าเช่าเหมารถบัสโดยสาร จำนวน 3 คัน วันละ 13,000 บาทต่อคัน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 78,000 บาท - ค่าป้ายโครงการจำนวน 1000 บาท

    รวมเป็นเงิน 118,600 บาท

    งบประมาณ 118,600.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ทุกหมู่บ้าน ในพื้นที่ตำบลฝาละมี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 200,900.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 2. ชมรมผู้สูงอายุในตำบลฝาละมี ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกันตำบล

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี รหัส กปท. L3338

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี รหัส กปท. L3338

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 200,900.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................