2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
จากสถิติผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ 2566 ใน ต.คูหาสววรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง พบผู้ป่วย 120 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.38 เทียบกับจำนวนประชากร (31,388 ราย) กระจายไป 22 ชุมชนจาก 45 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 48.88 ปี พ.ศ 2567 ตั้งแต่ 1 มกราคม ถึง 6 ธันวาคม พบผู้ป่วย 112 รายกระจายไป 32 ชุมชน จาก 45 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 71.11 จะเห็นได้ว่าโรคไข้เลือดออกยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง การคิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะคิดจากจำนวนชุมชนที่พบไข้เลือดออกเทียบกับจำนวนชุมชนทั้งหมดที่มีในตำบลนั้นๆ เกินร้อยละ 25 ซึ่งพบว่า ปี พ.ศ.2566- พ.ศ. 2567 ใน ตำบล คูหาสวรรค์ พบชุมชนที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกินร้อยละ 25 จึงนับได้ว่ามีการระบาดของโรคไข้เลือดออกใน ตำบล คูหาสวรรค์ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปี 2568 ขึ้น
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/01/2025
กำหนดเสร็จ 31/08/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
2.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
3.มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
4.มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อให้สามารถควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็ว
5.มีสื่อประชาสัมพันธ์สามารถเข้าถึงประชาชน