กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนักเรียนสุขภาพดีด้วยเกษตรปลอดภัยในโรงเรียนวัดร่มเมือง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

โรงเรียนวัดร่มเมือง

นางสาววิมล บุญสม
นางสาวรัชนี ศรีชะนันท์
นางสาวภรณ์ทิพย์ ผุดดวง

โรงเรียนวัดร่มเมือง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

60.00
2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

6.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

6.00 5.00
2 เพื่อให้นักเรียนมีแปลงเกษตรที่ปลอดสารพิษ ได้บริโภคผักปลอดสารพิษ

มีแปลงผักเกษตรปลอดสารพิษ

60.00 65.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 155
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 06/01/2025

กำหนดเสร็จ : 22/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การเลี้ยงกบ

ชื่อกิจกรรม
การเลี้ยงกบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมการเลี้ยงกบเพื่อต่อยอดการประกอบอาชีพในอนาคต
1. ลูกกบ จำนวน 2,500 ตัว ตัวละ 4 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท 2. อาหารกบ  8 กระสอบ กระสอบละ 700 บาท เป็นเงิน 5,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2568 ถึง 15 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนมีทักษะอาชีพและสามารถนำไปต่อยอดในอนาคต
  2. นักเรียนได้บริโภคเนื้อกบ จากการนำมาทำอาหารกลางวัน
  3. นักเรียนรู้จักการสร้างรายได้จากการประกอบอาชีพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15600.00

กิจกรรมที่ 2 เพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนู

ชื่อกิจกรรม
เพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนู
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 100 ก้อน ก้อนละ 15 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  2. ก้อนเชื้อเห็ดหูหนู จำนวน 100 ก้อน ก้อนละ 15 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2568 ถึง 1 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนเรียนรู้อาชีพในชุมชน มีทักษะชีวิต
  2. นักเรียนได้บริโภคเห็ด ในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน
  3. นักเรียนนำเห็ดกลับไปรับประทานที่บ้าน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 3 ปลูกผักสวนครัว

ชื่อกิจกรรม
ปลูกผักสวนครัว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. เมล็ดพันธุ์ผักบุ้ง จำนวน 1 ถุง ๆ ละ 200 บาท  เป็นเงิน 200 บาท
  2. เมล็ดพันธุ์บวบเหลี่ยม จำนวน  2 ซอง ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 60 บาท
  3. เมล็ดพันธ์ มะเขือเปราะ จำนวน 1 ซอง ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 30 บาท
  4. เมล็ดพันธุ์พริกหยวก จำนวน  1 ซอง ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 30 บาท
  5. เมล็ดพันธุ์ฟักเขียว จำนวน 2 ซอง ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 60 บาท
  6. ปุ๋ยคอก จำนวน 10 กระสอบ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ จากการประกอบอาหารกลางวัน
  2. นักเรียนมีทักษะชีวิต เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1080.00

กิจกรรมที่ 4 เด็กรอบรู้โภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
เด็กรอบรู้โภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 - มัธยมศึกษาปีที่ 3

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยตนเอง
  2. นักเรียนสามารถแยกแยะหรือเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,680.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนได้บริโภคเนื้อกบ
2. นักเรียนได้บริโภคเห็ดนางฟ้าและผักที่ปลอดสารพิษ
3. นักเรียนมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการเลี้ยงกบ การเพาะเห็ดนางฟ้าและการปลูกผักปลอดสารพิษ
4. นักเรียนได้นำผลผลิตจากการทำเกษตรมาจำหน่ายให้กับชุมชน ทำให้นักเรียนมีรายได้เสริมจากการเรียน
5. โรงเรียนมีแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้


>