กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในเด็กปฐมวัย ศพด.บ้านบาโงสนิง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

 

5.00
2 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

5.00
3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

 

3.00

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีที่จะอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมได้อย่างมีความสุข สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทีมีการจัดการควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อและขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณทางร่างการ สังคม อารมณ์ จิตใจแสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และเด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อมอันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมที่ดีทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ได้รับดำเนินการโครงการด้านการดูแลสุขภาพ เพื่อดูแลความสะอาดของเด็กปฐมวัยได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้บูรณาการงานด้านส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

3.00 2.00
2 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

5.00 2.00
3 เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

5.00 2.00

1. เพื่อให้ผู้ปกครองเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพของเด็ก
2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงน้ำหนัก ส่วนสูงและการเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามวัยของเด็ก
3. เพื่อให้ครูผู้ปกครองสามารถดูแลและรู้จักการป้องกันโรคต่างๆให้กับเด็กได้

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 47
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 47
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมสร้างสุขภาพอนามัยในเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสร้างสุขภาพอนามัยในเด็กปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาวะ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามรายละเอียดดังนี้
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับตำบลกาวะ - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน47 คน X 60บาท เป็นเงิน2,820.- บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน47 คน X 30 บาท X 2 มื้อเป็นเงิน2,820.-บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด (1.4.X2.6 เมตร)จำนวน1ป้ายเป็นเงิน910 บาท
-ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท (6x600) เป็นเงิน 3,600 บาท รวมเป็นเงิน10,150 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งร้อยห้าสิบบาทถ้วน) -ข้าวสาร 2 กิโลกรัม/ละ ราคา 30 บาท (230)เป็นเงิน60 บาท -น้ำมัน 1ขวด /ละ ราคา 65บาท ( 165) เป็นเงิน65 บาท น้ำปลา 1 ขวด /ละราคา 24 บาท (124 )เป็นเงิน 24 บาท ปีกไก่ 1 แพคราคา 200 บาท (1200 ) เป็นเงิน200 บาท ไข่ไก่2 ถาด ราคา150 ( 2150 ) เป็นเงิน 300 บาท ถั่วลันเตา 0.5 กิโลกรัมราคา135 บาท (0.5135 )เป็นเงิน135 บาท หอมใหญ่ 1 กิโลกรัมละราคา 45 บาท (145 )เป็นเงิน 45 บาท ข้าวโพดราคา 40บาทเป็นเงิน 40 บาท แครอท 3หัว ราคา 15 บาท ( 315 )เป็นเงิน 45 บาท
มะเขือเทศ 1 กิโลกรัม ราคา 40 บาท ( 140 ) เป็นเงิน 40 บาท
ลูกเกด 0.5 กิโลกรัม ราคา 100 บาท (0.5
100 )เป็นเงิน 100 บาท กระเทียม 0.5 กิโลกรัม ราคา 50 บาท ( 0.550 ) เป็นเงิน50 บาท เนย 0.5 กิโลกรัมราคา 70 บาท (0.570 ) เป็นเงิน 70 บาท
ใส่กรอก 3 ถุง ราคา 55 บาท ( 355 )เป็นเงิน165 บาท แตงกวา1 กิโลกรัม ราคา 40 บาท (1 * 40 ) เป็นเงิน 40 บาท ผักสลัด 1 กิโลกรัม ราคา 120 บาท (1120 ) เป็นเงิน 120 บาท รวมเป็นเงิน 1,523 บาท (หนึ่งพันห้าร้อยยี่สิบสามบาทถ้วน) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,670บาท (-หนึ่งหมื่นหนึ่งพันหกร้อยเจ็ดสิบสามบาทถ้วน. )

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เชิงปริมาณ
- ผู้ปกครองและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง จำนวน 47 คน
เชิงคุณภาพ
- ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลครอบครัวให้อบอุ่น มีสุขภาพจิตดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11670.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,670.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ปกครองเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพของเด็ก
2.ผู้ปกครองตระหนักถึงน้ำหนัก ส่วนสูงและการเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามวัยของเด็ก
3.ครูผู้ปกครองสามารถดูแลและรู้จักการป้องกันโรคต่างๆให้กับเด็กได้


>