แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ปัจจุบัน “บุหรี่ไฟฟ้า” ถือว่าได้รับความนิยมขึ้นกว่าในอดีตมาก ซึ่งแรกเริ่ม บุหรี่ไฟฟ้าได้รับการโฆษณาสรรพคุ ณว่าเป็นตัวช่วยที่ทำให้ เลิก บุหรี่ได้ง่ายขึ้น และไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย แต่มาจนวันนี้ “บุหรี่ไฟฟ้า” ได้กลายเป็นเหมือนกับทางเลือกสำหรับ “วัยรุ่น” มากขึ้นในฐานะ “ แฟชั่นใหม่” ภายใต้แนวความคิ ดที่ว่า “เท่ห์ สูบได้ และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ” วิกฤตบุหรี่ไฟฟ้าไทย ระบาดเพิ่ม 10 เท่าใน 1 ปี เปิดเผยใน วงสัมมนา ‘บุหรี่ไฟฟ้ามหั นตภัยไม่เงียบล่าเยาวชน’ ซึ่งการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่ งชาติ ปี 2564 พบประชากรไทยมีอัตราการสูบบุหรี่ ไฟฟ้า 0.14 % คิ ดเป็นจำนวน 78,742 คน ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยเป็นเยาวชนที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า อายุ 15-24 ปี จำนวน 24,050 คน และการสำรวจสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ ปี 2565 พบอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้า1.21%คิ ดเป็นจำนวน 709,677 คน โดยเป็นเยาวชน ที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า อายุ 15-24 ปีจำนวน 269,553 คน ศ.พญ.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ กุมารแพทย์เด็กและวัยรุ่น ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีกล่าวถึงวิกฤตบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทยที่ระบาดเพิ่มขึ้นถึงประมาณ 10 เท่า ใน 1 ปีในเวทีเสวนา ‘ บุหรี่ไฟฟ้ามหั นตภัยไม่เงียบล่าเยาวชน’ ของงานสมัชชาสุขภาพแห่ งชาติ ครั้งที่ 16 เมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2566 ที่ผ่านมา ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษม ทรัพย์ ผู้อำนวยการศู นย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุ มยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า สถานการณ์การสูบบุหรี่ไฟฟ้าของเยาวชนไทย น่าวิตก กังวลอย่างยิ่งเพราะอยู่ในช่วงระบาดขาขึ้น ที่จำเป็นต้องประสานความร่วมมืออย่างเป็นระบบและเข้มข้นจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและภาคี เครือข่าย ซึ่งสิ่งที่สำคั ญต้อง ‘คงกฎหมายห้ ามนำเข้าห้ ามขายบุหรี่ไฟฟ้า’เพราะหากคิ ดว่าคุ มไม่ได้ก็ยกเลิกกฎหมายห้ ามนำเข้าห้ ามขายบุหรี่ ไฟฟ้าไปเลย ไทยจะยิ่งตกอยู่ในสถานการณ์ลำบากกว่านี้ เหมือนแคนาดาและนิวซีแลนด์ที่เมื่อยกเลิกกฎหมายแล้ว อัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของ เยาวชนพุ่งขึ้น 2-5 เท่าใน 3 ปี ดังนั้นสิ่งที่ไทยจะต้องทำเร่งด่วนนอกเหนือจากห้ ามนำเข้า คื อ ‘เข้มงวดการบังคั บใช้กฎหมายให้ เคร่งครัด ในการ จับ ปรับ อย่างจริงจัง ห้ ามโฆษณาและห้ ามขายโดยเฉพาะในสื่อออนไลน์’ เหมือนกับที่สิงคโปร์และฮ่องกงดำเนินการ คาดการณ์ว่าอัตราการสูบ บุหรี่ไฟฟ้าของเยาวชนพุ่งขึ้น 2-5 เท่าใน 3 ปี ดังนั้นสิ่งที่ไทยจะต้องทำเร่งด่วนนอกเหนือจากห้ ามนำเข้า คื อ ‘เข้มงวดการบังคั บใช้กฎหมายให้ เคร่งครัด ในการจับ ปรับ อย่างจริงจัง ห้ ามโฆษณาและห้ ามขายโดยเฉพาะในสื่อออนไลน์’ เหมือนกับที่สิงคโปร์และฮ่องกงดำเนินการ คาด การณ์ว่าอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในเยาวชนไทยจะไม่เพิ่มขึ้นและจะค่ อยๆ ลดลง 1.7% ใน 3 ปี จากการสังเกตและติดตามประเมินภายใน โรงเรียนพบว่า เด็กอายุ11-15 ปีบางกลุ่มมีพฤติกรรม เปลี่ยนไปอย่างผิดปกติเช่นติดเกมส์มาโรงเรียนพูดถึงแต่เกมส์ที่เล่นด้วยกันในค่ ำคื นที่ผ่าน มา ไม่สนใจเรียน ก้าวร้าวและหลับในห้ องเรียน บางคนมีการขอ (ขู่) เอาเงินจากเพื่อนๆและรุ่นน้องในโรงเรียนและ/หรือที่เล่นเกมส์ด้วยกัน และ มีการโพสต์ในเฟสบุ๊คกลุ่ม (ปิด) ซักชวนให้ ซื้ อบุหรี่ไฟฟ้า โดยเป็นตัวแทนขายตรงพร้อมกับชักชวนเพื่อนๆและรุ่นน้องให้ ลองสูบบุหรี่ไฟฟ้า เป็นต้นเด็กที่มีฐานะค่ อนข้างดีกลุ่มนี้จะมีทั้งเพื่อนในโรงเรียนเดียวกันและต่างโรงเรียนมีนัดที่จะไปพบกันทั้งในสนามกีฬา และสถานที่ใกล้ร้าน จำหน่ายโดยผู้ปกครอง หรือ ครู ส่วนใหญ่ยังไม่รู้ ตลอดจนไม่รู้ถึงสาเหตุพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของบุตรหลานของตน เช่น ขอเงินมากกว่าปกติ โดยอ้างเหตุซื้ออุปกรณ์การเรียน ฯลฯ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็ นของ ครูโรงเรียนแห่ งหนึ่ง ที่กล่าวว่า บุหรี่ไฟฟ้าถือว่ามาแรงในปัจจุบัน ซึ่งที่พบ มีมากในกลุ่มของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึ กษา และที่น่าเป็นห่ วงก็พบในระดับชั้น ป.5 - ป.6 และที่เพิ่งตรวจพบคื อชั้น ป.4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ได้เห็ นความสำคั ญของภัยร้ายจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้าที่มี ต่อกลุ่มเยาวชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียนที่กำลังเข้าสู่วัยรุ่นวัยอยากรู้อยากลอง จึงได้จัดโครงการ “บุหรี่ไฟฟ้า มหั นตภัยใหม่ใกล้ตัวนัก สูบรุ่นใหม่ ปีงบประมาณ 2568” เพื่อให้ นักเรียนและเยาวชน ได้รับรู้ถึงพิษภัย มีทัศนคติเชิงบวก และมีหลักการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับบุหรี่ ไฟฟ้า
-
1. 1.เพื่อให้ นักเรียนและเยาวชน ได้รับรู้ถึงพิษภัย ของบุหรี่ไฟฟ้าตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีระดับการรับรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดีขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 80.00
-
2. 2.เพื่อให้ นักเรียนและเยาวชน มีทัศนคติเชิง บวกเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีระดับการรับรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดีขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 80.00
-
3. 3.เพื่อให้ นักเรียนและเยาวชน มีหลักการ ปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีระดับการรับรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดีขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 80.00
- 1. อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า ในกลุ่มนักเรียนกลุ่มเสี่ยงรายละเอียด
กำหนดการอบรม 08.30 น-09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 09.00 น-10.00 น. “ทบทวนจิต” 10.00 น-11.00 น. “บุหรี่ไฟฟ้าคื ออะไร” 11.00 น-12.00 น. “อะไรอยู่ในบุหรี่ไฟฟ้า” 12.00 น-13.00 น. "พักรับประทานอาหารกลางวัน" 13.00 น-14.00 น."โทษและพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้า" 14.00 น-15.00 น. "ทักษะการปฏิเสธบุหรี่ไฟฟ้า" 15.00 น-16.00 น."กฎหมายน่ารู้ของบุหรี่ไฟฟ้า" หมายเหตุ เวลา 10.00 น-10.15 และ 14.30 น.- 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 1.1 ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 41 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ 1.2 ค่าอาหารกลางวันจำนวน 41 คน ๆ ละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ 1.3 ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 6 ชม. 1.4 ค่ าวัสดุสำนักงาน 1.4.1 ค่าสมุด 41 เล่ม ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 615 บาท 1.4.2 ค่าปากกาลูกลื่น 41 ด้าม ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 205 บาท 1.4.3 ค่าปากกาเคมี 2 หั ว จำนวน 10 ด้าม ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 300 บาท 1.4.4 ค่าสีเทียน จำนวน 5 แพ็ค ๆ ละ 30 บาท เป็น เงิน 150 บาท 1.4.5 กระดาษฟลิปชาร์ท จำนวน 2 โหล ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 80 บาท 1.4.6 กระดาษ A4 จำนวน 1 รีม เป็นเงิน 125 บาท 2.4 ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร เป็นเงิน 500 บาท
งบประมาณ 10,085.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
รพ.สต.มะรือโบออก
รวมงบประมาณโครงการ 10,085.00 บาท
1.นักสูบหน้าใหม่ในนักเรียนและเยาวชนลดลง
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................