กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คีรีเขต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คีรีเขต เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพฯ พ.ศ.2557 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป็นไปตามระเบียบของกองทุนฯ และเกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน

บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คีรีเขต เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพฯ พ.ศ.2557 

1.00
2 เพื่อเป็นการทำความเข้าใจและให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คีรีเขต แก่ คณะกรรมการและอนุกรรมการ ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพฯ พ.ศ.2557

คณะกรรมการและอนุกรรมการ เข้าใจและให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คีรีเขต

1.00
3 เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มประชาชน หรือ องค์กรประชาชนในพื้นที่จัดทํากิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคหรือการฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่

กลุ่มประชาชน หรือ องค์กรประชาชนในพื้นที่ สามารถจัดทํากิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ได้ถูกต้องตามระเบียบ

1.00

เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คีรีเขต เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพฯ พ.ศ.2557 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป็นไปตามระเบียบของกองทุนฯ และเกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 33

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/01/2018

กำหนดเสร็จ 09/02/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1 ให้ความรู้ในการดำเนินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ

ชื่อกิจกรรม
1 ให้ความรู้ในการดำเนินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-  วัสดุอุปกรณ์ พร้อมเอกสารฝึกอบรม  งบประมาณ 2,544 บาท
-  ป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย  งบประมาณ  500 บาท
-  อาหารกลางวัน 50 บาท *1 มื้อ *33 คน    งบประมาณ  1,650 บาท
-  อาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 25 บาท *2 มื้อ *33 คน    งบประมาณ  1,650 บาท -  ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 600 บาท *2 คน *3 ชั่วโมง     งบประมาณ  3,600 บาท
-  ค่าเดินทางของวิทยากร คำนวณตามระยะทาง 66 กก. *4 บาท *2 รอบ *2 คน  งบประมาณ 1,056 บาท 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้เข้าร่วมประชุม ได้รับทราบ เข้าใจในการดำเนินการ บริหารงาน และการขอสนับสนุนงบประมาณถูกต้องตามระเบียบฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ได้รับความรู้และความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุนฯ
2. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ สามารถดำเนินงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเข้าใจในระบบการดำเนินงานกองทุนฯ มากยิ่งขึ้น
3. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ สามารถพิจารณาอนุมัติโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิงขึ้น
4. คณะอนุกรรมการกองทุนฯ ก็มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการบริหารกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น


>