แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการ อสม. ร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด
ชมรม. อสม.รพ.สต.บ้านตะโหมด
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และมะเร็ง เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังการป้องกันและการจัดการโรคเหล่านี้จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อเพิ่มโอกาสในการลดภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเสียชีวิต อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม) มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชน โครงการ อสม.ร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป เข้าถึงบริการประเมินสุขภาพและส่งเสริมความรอบรู้ด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังผ่านการจัดตั้งสถานี (Health Station) ในชุมชน
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น : 01/01/2025
กำหนดเสร็จ : 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินสุขภาพและตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างน้อย 80% ของกลุ่มเป้าหมาย
2ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 70% ของผู้เข้าร่วมโครงการ
3ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนในชุมชนเป้าหมาย
4อสม.มีความรู้และทักษะในการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพิ่มขึ้น