กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการให้ความรู้เพื่อป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

รพ.สต.บ้านท่ากูโบ

1.นางฮานีซะ แวสอเฮาะ
2.นางสาวอามีเนาะ ลีเยาะบิง
3.นางสาวซากียะห์ แวดาโอะ
4..นางสารอซีดะห์ วะตะกี
5.นางสาวฟาตีฮะ บือราเฮง

โรงเรียนพัฒนศึกษา/โรงเรียนพระราชดำริศูนย์ครูใต้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี พ.ศ.2565

 

5.67
2 ร้อยละการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี พ.ศ.2566

 

13.33
3 ร้อยละการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี พ.ศ.2567

 

7.01
4 ร้อยละของเยาวชน (อายุต่ำกว่า 20 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ

 

5.00

วัยรุ่น หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีอายุ 9 - 19 ปี ซึ่งอยู่ในวัยเรียนเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงและมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และพฤติกรรม เป็นช่วงรอยต่อของความเป็นเด็กและผู้ใหญ่ โดยมีลักษณะสำคัญ 3 ประการ คือ มีพัฒนาการทางร่างกาย มีพัฒนาการด้านจิตใจ และมีการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจสังคม วัยรุ่นเป็นวัยที่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ขาดความนับถือตนเอง รวมถึงขาดทักษะชีวิต ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงในด้านต่างๆ เช่น การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น โดยเฉพาะปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ หากไม่มีความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันที่ถูกต้อง อาจส่งผลให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
ผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยประสบปัญหาทางสังคมมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชน ปัจจุบันพบว่า เด็กเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือ ประมาณ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและขาดความรับผิดชอบตัวเอง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคันรวมทั้งมีความไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว กลายเป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมาอีกมาก
ปัจจุบันปัญหาเด็กวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและนำไปสู่การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมปรากฏอยู่ทุกภาคของประเทศไทย และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่ากูโบ พบการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรของเด็กนักเรียน ปี พ.ศ. 2564- 2565 จำนวน 2 รายและในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า20 ปี พ.ศ. 2565จำนวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.67 พ.ศ. 2566 มีจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 พ.ศ.2567 มีจำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.01ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จึงจัดโครงการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและตั้งครรภ์ในวัยรุ่นขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชน ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

80

40.00 80.00
2 เพื่อให้เด็กและเยาวชน รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง และมีพฤติกรรมที่เหมาะสม

70

50.00 70.00
3 เพื่อให้เด็กและเยาวชน รู้เท่าทันโลกปัจจุบัน สามารถดูแลตนเองได้ และใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปลอดภัย

70

40.00 70.00
4 เพื่อให้คุณครูสามารถให้คำปรึกษาเรื่องการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรเบื้องต้นให้กับนักเรียนได้

100

0.00 100.00
5 เพื่อให้คุณครูสามารถดูแลและส่งต่อนักเรียนในรายที่พบปัญหาได้ทันท่วงที

100

0.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เขียนโครงการเสนอ เพื่ออนุมัติ

ชื่อกิจกรรม
เขียนโครงการเสนอ เพื่ออนุมัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ชี้แจงโครงการให้กับคณะกรรมการโครงการทราบ

ชื่อกิจกรรม
ชี้แจงโครงการให้กับคณะกรรมการโครงการทราบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 จัดทำป้ายไวนิลโครงการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พร้อมทั้งเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อจัดโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำป้ายไวนิลโครงการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พร้อมทั้งเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อจัดโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าป้ายโครการฯ ขนาด 1.2x3 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 720 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์และสือที่ใช้ในการจัดกิจกรรมโครงการฯ เป็นเงิน 1,580 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2300.00

กิจกรรมที่ 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การวางแผนครอบครัว และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

ชื่อกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การวางแผนครอบครัว และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

5.1 เข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการมีเพศสัมพันธ์ในวัยอันควร การวางแผนครอบครัวและการป้องการการตั้งครรภ์
5.2 เข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องผลกระทบจากการจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยก่อนอันควร และการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น 5.3 ให้ความรู้เรื่องการมีเพศสัมพันธ์ในวัยอันควร การวางแผนครอบครัวและการป้องการการตั้งครรภ์ตลอดจนผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
5.4 สาธิตการใช้ถุงยางที่ถูกวิธี
งบประมานที่ใช้ ดังรายละเอียด - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน มื้อละ 60 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน มื้อละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12700.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกกิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ร้อยละ 80
2. เด็กและเยาวชน รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง และมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 70
3. เด็กและเยาวชน รู้เท่าทันโลกปัจจุบัน สามารถดูแลตนเองได้ และใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปลอดภัย ร้อยละ 70
4. คุณครูสามารถให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำเรื่องการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรเบื้องต้นให้กับนักเรียนได้ ร้อยละ 100
5. คุณครูสามารถดูแลและส่งต่อนักเรียนในรายที่พบปัญหาได้ทันท่วงที ร้อยละ 100


>