2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
การคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชน เป็นการค้นหา เฝ้าระวังป้องกันโรค ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไขมัน เป็นต้น รวมทั้งเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังเบื้องต้น จากข้อมูลผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังในเขตตำบลกอลำ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกอลำ ปี 2567 พบว่ามีผู้ป่วยป่วยด้ายโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 86 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 50 ราย แนวโน้มว่าจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ถ้าไม่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพและรับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลกอลำ จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญในการคัดกรองสุขภาพประชาชนในเขตรับผิดชอบ เพื่อค้นหา เฝ้าระวัง และกระตุ้นให้ประชาชนดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างถูกต้องต่อไป
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
1. เพื่อตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัดความสำเร็จ :
-ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ
2.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่อง การดูแลตนเองป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัววชี้วัดความสำเร็จ :
-ประชาชนมีการลด และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/12/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ประชาชนในเขตเทศบาลได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2. ประชาชนมีมาตรการทางสังคม เพื่อสนับสนุนการลดพฤติกรรมความเสี่ยงในการเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง
3. ประชาชนในเขตเทศบาลมีสุขภาพร่างกาย จิตใจ แข็งแรงและสมบูรณ์