กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชุมชนตลาดเก่าท่ามิหรำ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

1.นางพรเพ็ญ เนียมสวัสดิ์
2.นางสาววรรณาแดงเอียด
3.นางพิทยาจุลนิล
4.นางบุญจริงพุทธคลิ้ง
5.นางยุพินสุดถนอม

ชุมชนตลาดเก่าท่ามิหรำ ต.คูหาสวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จำนวนประชากรในชุมชนตลาดเก่าท่ามิหรำ มีจำนวน618คน โดยมีประชากรที่เปฌนโรคเบาหวาน17 คนเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง59 คนกลุ่มเส่ยงโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิต จำนวน 103 คน เจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวาน จำนวน33 คน เจ็บป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 3 คน เจ็บป่วยด้วยโรคไตจำนวน 5 คนคณะกรรมการ อสม.ชุมชนตลาดเก่าท่ามิหรำเล็งเห็นถึงความสำคัญปัญหาดังกล่าว จึงเสนอโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชุมชนตลาดเก่าท่ามิหรำ เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

จำนวนกลุ่มเสี่ยงลดลงร้อยละ50

100.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/02/2025

กำหนดเสร็จ 29/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้ในเรื่อง
1.กลไลการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

2.น้ำตาลในเลือดเป็นอย่างไร

3.ผลจากน้ำตาลสูง

4.ทดสอบแป้งในอาหาร

5.ทดสอบน้ำตาลในเครื่องดื่ม

6.ทดสอบเกลือในอาหาร

7.การนับคาร์บ

8.การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม

งบประมาณ 1.ค่าอาหารว่างมื้อละ 30 บาท x 35 คน = 1,050 บาท

2.ค่าคู่มือเล่มละ 25 บาท x 35 เล่ม = 875 บาท

3.ค่าแถบวัดน้ำตาล 8 บาท x 105 แถบ = 840 บาท

4.ค่าเข็มเจาะ 2 บาท x 105 อัน = 210 บาท

5.ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต 2,500 บาท x 3 เครื่อง = 7500 บาท

6.ค่าวิทยากร 600 บาทx 3 ชั่วโมง = 1,800 บาท

7.ค่าเครื่องเจาะน้ำตาล จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 1100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 14 กุมภาพันธ์ 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สามารถเลือกรับประทานอาหารได้ถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13375.00

กิจกรรมที่ 2 ติดตามระยะ 3 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามระยะ 3 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดองค์ประกอบร่างกาย

2.เจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว

3.แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคล

งบประมาณ

1.ค่าอาหารว่างมื้อละ 30 บาท x 35 คน = 1,050 บาท

2.ค่าวิทยากร 600 บาทx 3 ชั่วโมง = 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 เมษายน 2568 ถึง 25 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง และมีผลการวัดองค์ประกอบร่างกายดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2850.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามระยะ 6 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามระยะ 6 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดองค์ประกอบร่างกาย

2.เจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว

3.แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคล

งบประมาณ

1.ค่าอาหารว่างมื้อละ 30 บาท x 35 คน = 1,050 บาท

2.ค่าวิทยากร 600 บาทx 3 ชั่วโมง = 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 สิงหาคม 2568 ถึง 8 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง และมีผลการวัดองค์ประกอบร่างกายดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,075.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

กลุ่มเป้าหมายมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง และมีผลการวัดองค์ประกอบร่างกายดีขึ้น (เปอร์เซ็นต์ไขมันลดลงและมวลกล้ามเนื้อเพิ่มมากขึ้น)


>