กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อย.น้อยสุขภาพดี เริ่มที่โรงเรียน ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบตาฆอ

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาฆอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภค อาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้ 2. เพื่อให้นักเรียน สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ,ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด, ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อน ๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย เป้าหมาย - ตัวแทน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านสุโส๊ะ และ โรงเรียนตชด พลเอกนวลคุญหญิงบางชื่อ จันทร์ตรี

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น :

กำหนดเสร็จ :

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อย.น้อยสุขภาพดี เริ่มที่โรงเรียน ปี 2568

ชื่อกิจกรรม
อย.น้อยสุขภาพดี เริ่มที่โรงเรียน ปี 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อย่างถูกต้อง และการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ,ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด , ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอาง
                 2. สำรวจตลาดสด ร้านค้าชุนชน เพื่อจัดทำทะเบียนประจำปี 2568
                 3. การตรวจสอบคุณภาพอาหารที่จำหน่ายภายใน หรือรอบๆ โรงเรียน และตลาดสดหรือชุมชน ใกล้เคียง ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบบอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอกขาว เป็นต้น
                 4. การรณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน เช่น การเดินรณรงค์ การแจกเอกสารความรู้ การให้ความรู้ทางหอ กระจายข่าวหรือวิทยุชุมชน ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี โดยยึดหลัก “บริโภคถูกหลักโภชนาการ ปราศจากสารปนเปื้อน” เช่น หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) หลีกเลี่ยงการซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพตามโฆษณาชวนเชื่อ หลีกเลี่ยงการซื้อ อาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หรือไม่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ (นึ่ง อบ ย่าง) อ่านฉลาก อาหาร ยา และ เครื่องส าอาง ก่อนซื้อก่อนใช้ บริโภคนม ผัก และผลไม้เป็นประจำรู้ทันอันตราย สเตียรอยด์ การใช้ยาปลอดภัยในโรงเรียนนักเรียน ครอบครัว เช่น อาหารสีสันฉูดฉาด อาหารที่ทอดด้วยน้ำมัน ทอดซ้ำของเล่นที่ไม่ปลอดภัย
                 5. สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลต่อคณะกรรมการกองทุนฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17095.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,095.00 บาท

หมายเหตุ :
- จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลธารคีรี
จำนวน21,909 บาท (สองหมื่นหนึ่งเก้าร้อยเก้าบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อย่างถูกต้อง และการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ,ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด , ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอาง มีค่าใช้จ่ายต่อไปนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนๆละ 2 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท
3. ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 60 ชุดๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท
5.ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.5 x 2.5 เมตร จำนวน 1ผื่น เป็นเงิน675บาท
รวมเป็นเงิน 16,275บาท
กิจกรรมที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพอาหาร มีค่าใช้จ่ายต่อไปนี้
ค่าชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อน จำนวน 8 ชนิด
- สารบอแรกซ์ จำนวน ๑ ชุดๆละ 360 บาท เป็นเงิน360 บาท
- สารกันรา จำนวน ๑ ชุดๆละ 400 บาท เป็นเงิน400 บาท
- สารฟอกขาว จำนวน ๑ ชุดๆละ 360บาท เป็นเงิน360 บาท
- ฟอร์มาลิน จำนวน 10 ชุดๆละ 60บาท เป็นเงิน600 บาท
- ตัวอย่างในการตรวจ จำนวน ๑ ชุดๆละ 900 บาท เป็นเงิน900 บาท
- โคลิฟอร์มขั้นต้น (Sl-๒) พร้อมตะเกียง ๑ ชุดๆ ชุดละ 980 บาทเป็นเงิน980 บาท
- ชุดทดสอบสารเสตียรอยด์ในยาชุด/ยาสมุนไพร จำนวน 5 ชุดๆละ 150 เป็นเงิน 750บาท
- ชุดทดสอบสารเสตียรอยด์ในเครื่องสำอาง ขนาด 20 ตัวอย่าง จำนวน 1 ชุดๆละ 1,284บาท
เป็นเงิน 1,284 บาท
กิจกรรมที่2รวมเป็นเงิน 5,634 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 21,909 บาท (สองหมื่นหนึ่งเก้าร้อยเก้าบาทถ้วน)

หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้ตามความเหมาะสมในทุกกิจกรรม

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนได้รับความรู้ ในการเลือกซื้ออาหาร เลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ร้อยละ 80
2. นักเรียนสามารถตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และในผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ปลอดภัย ร้อยละ 100
3. ร้านค้า และตลาดสดในชุมชนได้รับการตรวจประเมินมาตรฐานตามแบบประเมินส านักงาน สาธารณสุขจังหวัดทุกๆปี ร้อยละ 100


>