2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ระยะตั้งครรภ์ เป็นจุดเริ่มต้นที่มีความสำคัญสำหรับการให้กำเนิดทารก ให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา แม้ว่าการตั้งครรภ์ของสตรีจะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ แต่ก็เป็นภาวะที่หญิงตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม บางคนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในขณะตั้งครรภ์ ทำให้หญิง
ตั้งครรภ์มีสุขภาพที่ดี แต่บางคนขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพในขณะตั้งครรภ์ ส่งผลให้บางคนมีภาวะโภชนาการต่ำ เป็นปัญหาสำหรับเด็กแรกเกิด ทำให้มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มารดามี
โรคประจำตัว ขาดการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับการดูแลในเรื่องการรับประทานอาหารและอาหารเสริมโปรตีน ซึ่งจะช่วยเพิ่มภาวะ
โภชนาการให้อยู่ในเกณฑ์ปกติทั้งหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของระยะการตั้งครรภ์ ลดภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด อันส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
เด็กมีพัฒนาการสมวัย และเติบโตไปเป็นประชากรที่มีคุณภาพ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขนุน จึงได้จัดทำ“โครงการแก้ไขปัญหาโภชนาการหญิงครั้งครรภ์ ” ขึ้นโดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การ
บริหารส่วนตำบลวัดขนุนเป็นเงิน36,200 -บาท (-เงินสามหมื่นหกพันสองร้อยบาทถ้วน-)
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 15/01/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2. หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์
3. ร้อยละของทารกมีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่า 2,500 กรัม ลดลง
4. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลง