แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง รหัส กปท. L4159
อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นางอัญชลี ขวัญเจริญ
2.นางรุสนา เจตานุวัฒน์
3.นางอาอีเซาะห์ ยูโซ๊ะ
4.นางสาวแสงนภา บุญชิต
5.นางสาวมิสบะห์ อาแซบากา
ปฐมวัยเป็นวัย คือเด็กที่มีอายุ 0 - 5 ปี เป็นวัยเริ่มต้นของชีวิต พัฒนาการด้านต่างๆ พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและเป็นรากฐานที่สำคัญของช่วงวัยต่อๆ ไป เด็กวัยนี้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งของประเทศ ถ้าเด็กปฐมวัยได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม จะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพ และเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติต่อไป ดังคำกล่าวของศาสตราจารย์ ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน นักเศรฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี พ.ศ. 2552 ที่ว่า "การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า และให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุด" การได้รับบริการด้านสุขภาพเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนควรได้รับการบริการส่งเสริมป้องกันโรคด้วยการฉีดวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิดตามช่วงวัย เพราะโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นสาเหตุให้เด็กไทยจำนวนมากได้รับผลกระทบ ทั้งการเจ็บป่วย พิการ จนบางครั้งอาจส่งผลถึงขั้นเสียชีวิต และเด็กอายุ 0 - 5 ปี ควรได้รับการประเมินพัฒนาการรวมถึงการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย
ในปี 2567 จังหวัดยะลาพบผู้เสียชีวิตด้วยโรคไอกรนจำนวน 2 ราย จากข้อมูลการดำเนินงานด้านการสอบสวนและควบคุมโรค ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ ในปี 2567 พบผู้ป่วย ไอกรนจำนวน 1 ราย และผู้ป่วยหัดจำนวน 2 ราย จากผู้ป่วย 3 รายข้างต้นพบว่า 2 รายเป็นเด็กที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีน
ในส่วนของการดำเนินการด้านพัฒนาการเด็ก พบว่า ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี ที่เข้ารับบริการคลินิกเด็กสุขภาพดี ร้อยละ 100 ไม่เคยประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือ DSPM ที่ได้รับหลังคลอด สงผลให้เด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า
จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ และมีความตั้งใจอย่างยิ่งที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 0 - 5 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบถ้วน
-
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีนตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีนขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 45.00
-
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัยตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัยขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 18.00
- 1. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ชี้แจ่งผู้ปฏิบัติงาน อสม. และผู้นำชุมชoรายละเอียด
ไม่มีค่าใช้จ่าย
งบประมาณ 0.00 บาท - 2. การอบรมให้ความรู้ในรูปแบบบูรณาการรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าสัมนาคุณวิทยากรภายนอก จำนวน 6 ชั่วโมง x 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าป้ายชื่อโครงการ ขนาด 1.2 x 3 เมตร x 1 ผืน เป็นเงิน 900 บาท
งบประมาณ 12,200.00 บาท - 3. ติดตามเด็กที่ขาดนัดวัคซีนและทดสอบผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในการใช้คู่มือ DSPMรายละเอียด
ไม่มีค่าใช้จ่าย
งบประมาณ 0.00 บาท
กลุ่มผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 70 คน
ตั้งแต่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
หมู่ 4, หมู่ 5, หมู่ 6 ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
รวมงบประมาณโครงการ 12,200.00 บาท
- เด็กอายุ 0 - 5 ปี มีสุขภาพดี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- เด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง รหัส กปท. L4159
อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง รหัส กปท. L4159
อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................