กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โภชนาการปลอดภัย สมวัย แข็งแรง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลท่างิ้ว

1 นางพัชรีสีสุข / ประธานฯ
2 นายเกรียงศักดิ์ดีกล่อม / รองประธานฯ
3 นางสุจินต์นิ่มกาญจนา /กรรมการ
4 นางปัญญาคงฤทธิ์/เหรัญญิก
5 น.ส.บุญญาภรณ์คงฤทธิ์/เลขานุการ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลท่างิ้ว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

1.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

1.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

1.00

การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุมีปัจจัยสำคัญ 2 ประการ คือ ปัจจัยทางกรรมพันธุ์และปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมพบว่ามีความสำคัญก็คือ ภาวะโภชนาการ และวิถีทางดำเนินชีวิต การที่ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้มากเกินไป มีผลซ้ำเติมอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งมีแนวโน้มจะเสื่อมอยู่แล้วให้เสื่อมยิ่งขึ้น การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ
จึงต้องคำนึงถึงความต้องการสารอาหาร โดยเน้นความสมดุลความพอเหมาะพอดี และความหลากหลายของอาหาร นอกจากรี้การออกกำลังกายการผ่อนคลายทางกายและจิตและการหลีกเลี่ยงสิ่งเป็นพิษก็เป็นพิษก็เป็นปัจจัยที่สำคัญสำหรับพื้นฐานการมีสุขภาพดีของผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการเนื่องจากระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายเปลี่ยนแปลงไปประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทำงานด้อยลง การรับรู้รสและกลิ่นน้อยลง ทำให้ความอยากอาหารลดลงด้วย ประกอบกับมีปัญหาเรื่องเหงือกและฟันและระบบการย่อยการดูดซึมอาหารไม่ดี จึงทำให้เกิดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ บางครั้งก็ท้องผูกมีโอกาสเกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่ายปัญหาของผู้สูงอายุในเรื่องอาหารการกิน จึงมีปัญหาทั้งกินไม่ได้และกินไม่พอจนทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร เช่น การขาดแร่ธาตุแคลเซียมและเหล็กและขาดวิตามินต่างๆ และถ้าผู้สูงอายุได้อาหารบางอย่างมากไปไม่ถูกส่วน หรือไม่ได้ครบ 5 หมู่ ก็อาจเกิดปัญหาโรคเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ไขมันอุดตันในหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะชลอหรือป้องกันได้ถ้าผู้ใกล้ชิดหรือมีความเกี่ยวข้องต่างๆ ให้ความเอาใจใส่ แนะนำเกี่ยวกับเรื่องการบริโภคอาหาร
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลท่างิ้ว ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค จึงได้จัดทำโครงการ “โภชนาการปลอดภัย สมวัย แข็งแรง “ขึ้น โดยเพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมตามสภาวะ การปรุงอาหารที่สะอาดปลอดภัย และถูกหลักโภชนาการ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพโภชนาการที่ดีขึ้นต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. . เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีขึ้น2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะการทำอาหารเพื่อสุขภาพ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 70
  2. ผลการประเมินความพึงพอใจของโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
1.00

ข้อที่1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีขึ้น
ข้อที่2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการทำอาหารเพื่อสุขภาพ
ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการหันมาปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 24/07/2025

กำหนดเสร็จ : 24/07/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ในหัวข้อ- การดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้สูงอายุ - โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและวิธีป้องกัน - โภชนาการในผู้สูงอายุ - อาหารชะลอความเสื่อมของอวัยวะที่สำคัญ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ในหัวข้อ- การดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้สูงอายุ - โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและวิธีป้องกัน - โภชนาการในผู้สูงอายุ - อาหารชะลอความเสื่อมของอวัยวะที่สำคัญ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายโครงการ= 500 บ.
  • ค่าอาหาร= 4,800 บ. (จำนวน 60 คน x 80 บาท )
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม =3,000 บ. (จำนวน 60 คน x 25 บาท x 2 มื้อ)
  • ค่าตอบแทนวิทยากร = 3,600 บ. (จำนวน 6 ชั่วโมง x 600 บาท)
  • ค่าวัสดุอื่นๆที่ใช้ในการอบรม = 3,000 บ. (แฟ้มเอกสาร,สมุด,ปากกา)
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กรกฎาคม 2568 ถึง 24 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 70
  2. ผลการประเมินความพึงพอใจของโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14900.00

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. มีการรณรงค์ให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองในครัวเรือน
  2. มีการลงพื้นที่ติดตามผลการปลูกผักปลอดสารพิษโดยคณะกรรมการศูนย์ฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,900.00 บาท

หมายเหตุ :
รายจ่ายสามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีขึ้น
2. ผู้สูงอายุมีทักษะการทำอาหารเพื่อสุขภาพ
3. สามารถต่อยอดจนเกิดกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษและเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน


>