กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกันเถอะด้วยวิธีเต้นแอโรบิค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร

ชมรมรักษ์สุขภาพตำบลบ้านแหร

1. นางสาวสูไหลามะแร
2. นางสาวโนรมาสะเตาะ
3. นางสาวสานีตา มามะแตหะ
4. นางสาวมาซีเต๊าะ แมฮะ
5. นางสาวแวนูรียะห์แปเฮาะอีเล

ตำบลบ้านแหร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่าง ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนออกกำลังกายน้อยลงทำให้ร่างกายอ่อนแอ ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โดยระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงานและผู้สูงอายุ โดยพบว่าสาเหตุของกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเกิดจากการขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้
ชมรมรักษ์สุขภาพตำบลบ้านแหร มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพให้มีสุขภาพกายและสุขภาพใจดี มีความเป็นอยู่อย่างยั่งยืนมีความสุข ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญา จึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกันเถอะด้วยวิธีเต้นแอโรบิค ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพพลาอนามัยที่ดีอีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

80.00
2 เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกำลังกาย

ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมออกกำลังกายเต้นแอโรบิค -สัปดาห์ละ 3 วันๆละ 1 ชั่วโมง ระยะเวลา 6 เดือน - กลุ่มเป้าหมาย 30 คน/วัน

งบประมาณ ดังนี้ ค่าวิทยากร300 บาท / วัน x81 วันเป็นเงิน24,300 บาท (จัดกิจกรรม จำนวน 3 วัน / สัปดาห์จำนวน 27 สัปดาห์เป็น จำนวน 81 วัน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน/วัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นแบบอย่างในการส่งเสริมสุขภาพ


>