กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาระบบสถานีสุขภาพต้นแบบ (Health Station) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพรุนายขาว ปี2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านสายคลอง ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

นายเจริญชัย ทวีประเสริฐ
นายสมพล ด้วนแดง
นางจำนงค์ ชูสุวรรณ
นางสมนึก ชูสุวรรณ
นางพัทธนันท์ สุทธิโภชน์

หมู่ที่ 5 บ้านหนองเลน หมู่ที่ 8 บ้านสายคลอง ต.คลองใหญ่ อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เนื่องจากประชากรในพื้นที่มีความรู้ด้านสุขภาพน้อยและยังเข้าถึงระบบการคัดกรองเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตได้น้อย

 

1.00

สถานการณ์ปัจจุบันมีผู้สูงอายุในประเทศไทยถึง 10 ล้านคน หรือคิดเป็น 16% ของประชากรทั้งหมดและมีการคาดการณ์ว่า ในปี 2568 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ปัญหา ด้านสุขภาพของประชาชนที่จะเกิดจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญ คือ ความเจ็บป่วยและความบกพร่องในการทำงานของร่างกายในทุก ๆ ด้าน รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจ และมีปัจจัยเหนี่ยวนำที่ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกันคือ พฤติกรรมสุขภาพทั้งในเรื่องของพฤติกรรมการบริโภคผัก การลดการบริโภควาน มันเค็ม การเคลื่อนไหวออกแรงที่เพียงพอ การนอนหลับอย่างมีคุณภาพ และการดูแลสุขภาพช่องปาก ซึ่งจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงานในเขตสุขภาพที่9 เมื่อปี 2563 พบว่า ประชากรก่อนวัยสูงอายุ 25-58 ปี มีการเตรียมการเพื่อยามสูงอายุโดยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพียงร้อยละ 28.1เท่านั้นซึ่งสัมพันธ์กับสถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่จังหวัดพัทลุง จากระบบรายงานHDC พบว่า ปีงบประมาณ 2567 มีการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานจาก ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองร้อยละ 96.73 (เป้าหมายร้อยละ 90) และพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสียง Pre-DM จำนวน 2 ราย ซึ่งพบว่าอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อประชากรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น การดูแลสุขภาพประชาชนวัยทำงานจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรเริ่มต้นดูแลสุขภาพตั้งแต่วัย ก่อนเข้าผู้สูงอายุ เนื่องจากเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุภาวะร่างกายมีความเสื่อมถอยตามอายุ มีภูมิต้านทานโรคต่ำลง มีโอกาสเจ็บป่วยได้ง่าย การที่จะดูแลสุขภาพเมื่อเสื่อมแล้วเป็นการยากต่อการฟื้นฟูสุขภาพให้ดีดังเดิม เพื่อ ป้องกันและรับมือแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพรุนายขาว จึงได้ดำเนินการ พัฒนาระบบสถานีสุขภาพต้นแบบสุขภาพตำบลทั้ง 2แห่งที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของรพ.สต. จึงได้ดำเนินการ พัฒนาระบบสถานีสุขภาพต้นแบบปีงบประมาณ2568 เพื่อเตรียมรองรับประชากรไทยเข้าสู่สังคมสูงวัย เพื่อให้ประชากรในพื้นที่เข้าถึงระบบการคัดกรองได้เพิ่มขึ้น และสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อเตรียมรองรับประชากรไทยเข้าสู่สังคม เพื่อให้ประชาชนรับรู้ความเสี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ประชาชนมีสมุดสุขภาพประจำตัว (Personal Health Record) มีความพร้อมในการเข้าถึง เข้าใจ ตัดสินใจ สามารถจัดการสุขภาพของตนเอง และก้าวเข้าสู่ผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาวะที่ดี จนกระทั่งสามารถบอกต่อผู้อื่นที่อยู่ในชุมชนได้ รับรองสังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสม กับสถานการณ์และทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างยั่งยืน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้และปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพในวัยทำงาน

พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้และปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพในวัยทำงาน ร้อยละ 90

2.00 1.00
2 เพื่อสร้างกระแสประชาสัมพันธ์นโยบาย/มาตรการพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานในรูปแบบชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีสุขภาพดี

สร้างกระแสประชาสัมพันธ์นโยบาย/มาตรการพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานในรูปแบบชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีสุขภาพดี ร้อยละ 90

2.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านพรุนายขาว 2

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2025

กำหนดเสร็จ 31/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมประสารภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายผู้ดำเนินงานผู้ดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
ประชุมประสารภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายผู้ดำเนินงานผู้ดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพ และการให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพ และการให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดตั้ง Health Station จัดหาเครื่องมือ และจัดหาแผ่นตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด และจัดทำสมุดสถานีสุขภาพ เพื่อสนับสนุนให้กับหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้ง Health Station จัดหาเครื่องมือ และจัดหาแผ่นตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด และจัดทำสมุดสถานีสุขภาพ เพื่อสนับสนุนให้กับหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ทำป้าย Roll Up (สถานีสุขภาพดิจิดัล Digital Health Station / ป้ายโฟมบอร์ด ดัชนีมวลกาย (BM) Body Mass Indexขนาด 80*100 เซนติเมตร จำนวน 2 ชุดๆละ 1,500 เป็นเงิน 3,000 บาท 2. ค่าจ้างทำสมุดบันทึกสถานีสุขภาพชุมชน จำนวน 2 เล่มๆละ 100 เป็นเงิน 200 บาท 3. ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 2 เครื่องๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 4. ค่าเครื่องวัดความดัน จำนวน 2 เครื่องๆละ 3,500 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
5. ที่วัดส่วนสูง จำนวน 2 อัน อันละ 1,850 บาท เป็นเงิน 3,700 บาท 5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม จำนวน 30 คนๆ ละ 1 วันๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาทต่อคน เป็นเงิน 1,500 บาท 6.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆละ 1 วันๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20500.00

กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาให้แก้ประชาชนในกลุ่มวัยทำงานในพื้นที่ เพื่อประเมินสุขภาวะของตนเอง ทำให้เกืดความเข้าใจ ตอบโต้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง และบอกต่อผู้อื่นในชุมชนได้

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาให้แก้ประชาชนในกลุ่มวัยทำงานในพื้นที่ เพื่อประเมินสุขภาวะของตนเอง ทำให้เกืดความเข้าใจ ตอบโต้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง และบอกต่อผู้อื่นในชุมชนได้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมเสริมพลัง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมเสริมพลัง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนในพื้นที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสม
2.บุคลากรสาธารณสุขได้ใช้ประโยชน์ระบบที่พัฒนาเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพ


>