กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่

โรงพยาบาลศรีบรรพต

หมู่ที่ 6,9 ตำบล เขาปู่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

1.50
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

4.00
3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

1.53
4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

1.53

การดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ปีงบประมาณ 2568 มุ่งเน้นการสร้างความตระหนักรู้ให้กับประชาชน รวมถึงการป้องกัน ควบคุมโรค และส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรค NCDs รายใหม่แล้ว ยังช่วยให้ผู้ป่วยที่ป่วยแล้วสามารถลดหรืองดใช้ยาในการรักษา ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว
จากผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ในปี66-67 ร่วมกับ อสม. ปี 2565-2567 คิดเป็นร้อยละร้อยละ 91.02,93.33 และ91.72ตามลำดับ การคัดกรองความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยง ผลการคัดกรองโรคคิดเป็นร้อยละ 90.17,92.21 และ91.50
อัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/สงสัยป่วยปี63-66ร้อยละ 0.99,1.0,0,2.14และในปี67ร้อยละ 1.5 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดัน/ ร้อยละปี63-66ร้อยละ 0,1.5,0,0และในปี67ร้อยละ 4 ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีปี63-66ร้อยละ 40.06,52.76,36,52.94และในปี67ร้อยละ 50.52 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี2563-2566 ร้อยละ 50.13,48.54, 56.25,61.54 และปี67ร้อยละ 62.51 ส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีปี63-66ร้อยละ 40.06,52.76,36,52.94และในปี67ร้อยละ 50.52 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี2563-2566 ร้อยละ 50.13,48.54, 56.25,61.54 และปี67ร้อยละ 62.51
โรงพยาบาลศรีบรรพตเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2568 เพื่อ อสม.และทีมสหวิชาชีพมีศักยภาพในการดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยลดอัตราการเกิดโรครายใหม่และและกลุ่มป่วยลดภาวะแทรกซ้อน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

≥ร้อยละ 65

62.31 65.00
2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

≥ร้อยละ 55

50.52 55.00
3 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/สงสัยป่วย

≤ร้อยละ 1.00

2.50 1.00
4 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

≥ร้อยละ 2.5

59.09 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรม “อสม. ชวนนับคาร์บ”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรม “อสม. ชวนนับคาร์บ”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่าง อสม.และผู้จัด 30 คน x 30 บาท x2มื้อ = 1,800บาท -ค่าอาหารกลางอสม.และผู้จัด 30 คนx 80 บาท x1มื้อ = 2,400บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถคำนวณปริมาณคาร์บที่ควรรับประทานในแต่ละวัน และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้สู่ชุมชน ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่าง ผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด 25 คน x 30 บาท x2มื้อ= 1,500บาท -ค่าอาหารกลางอสม.และผู้จัด 25 คนx 80 บาท x1มื้อ = 2,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 อัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 เยี่ยมบ้านกลุ่มป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันไม่ได้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 เยี่ยมบ้านกลุ่มป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันไม่ได้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

0

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยควบคุมระระดับน้ำตาลและระดับความดันได้ ไม่มี ภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>