แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่่ยง เลี่ยงโรค ปี 2568 หมู่ที่ 8 บ้านหน้าวังชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหน้าวัง ผู้รับผิดชอบ นางไรหรอพลนุ้ย
1.นางไรหรอ พลนุ้ย
2.นางอำพร สุวรรณ
3.นางวิศนี นะแหล่
4.น.ส.พรรณทิพา หม่าหลี
5.นางส่อลิหะฮ์ พลนุ้ย
หอประชุมหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหน้าวัง
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยง
3. เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น : 01/03/2025
กำหนดเสร็จ : 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานให้ความสำคัญการดูแลสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยการสร้างสุขภาพ รับรู้ สภาวะสุขภาพของตนเอง
2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีศักยภาพและความสามารถในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนได้เพิ่มขึ้น