กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย

ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต. บ้านท่าควาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง (ต่อประชากรแสนคน)

 

11,500.00

การดำเนินชีวิตของประชาชน มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวเช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง สำหรับข้อมูลอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังของ รพ.สต. บ้าน ท่าควาย พบว่า โรคเบาหวาน เท่ากับ 5,233.33 โรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 11,500.00 โรคหัวใจขาดเลือด เท่ากับ 166.66 และโรคหลอดเลือดสมอง เท่ากับ 1,300.00 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ได้ดำเนินตามนโยบายสาธารณสุข จัดให้มีการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่รับผิดชอบ 4 หมู่บ้านในปีงบประมาณ 2568 เน้นการเฝ้าระวังติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันลิตสูง ที่มีค่าความดันโลหิต เท่ากับหรือมากกว่า 140/90 มม./ปรอท
เพื่อให้มีการดูแลสุขภาพผู้กลุ่มเสี่ยง ให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการเฝ้าระวังติดตามความดันโลหิตสูงที่บ้าน และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยทีมแกนนำสุขภาพ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพเป็นแบบองค์รวม ส่งเสริมพฤติกรรมการจัดการตนเองสามารถควบคุมภาวะเสี่ยงได้ และป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการเฝ้าระวังติดตามความดันโลหิตสูงที่บ้าน

ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการเฝ้าระวังติดตามความดันโลหิตสูงที่บ้าน

60.00 80.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

18.60 2.50

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 19/03/2025

กำหนดเสร็จ : 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 คัดกรองความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเครือข่าย อสม.

1.2 จากการคัดกรองพบกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันลิตสูง ที่มีค่าความดันโลหิต เท่ากับหรือมากกว่า 140/90 มม./ปรอท เข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 การให้ความรู้แก่กลุ่มสงสัยป่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
การให้ความรู้แก่กลุ่มสงสัยป่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 ดำเนินการคลินิกไร้พุง (DPAC) ในรพ.สต. และในชุมชน ในการให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรัง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 เฝ้าระวังติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันลิตสูงรายใหม่

ชื่อกิจกรรม
เฝ้าระวังติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเพื่อลดผู้ป่วยโรคความดันลิตสูงรายใหม่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1การดำเนินงานเชิงรุก เฝ้าระวัง ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน

  • ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 8 เครื่องๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการประเมินสุขภาพของกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการประเมินสุขภาพของกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

4.1 ประเมินผลการตรวจวัดความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน ภายหลัง 3 เดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 สรุปและประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปและประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :
**ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้**

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มสงสัยโรคความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้
2. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง


>