2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัญหาในวัยเด็กที่กำลังจะเข้าสู่วัยรุ่น เป็นปัญหาที่ค่อนข้างละเอียดอ่อน ซับซ้อน เพราะฉะนั้นการดำเนินงานในการป้องกันปัญหานี้ มุ่งเน้นให้วัยรุ่นมีการเสริมสร้างทักษะชีวิต สังคม การเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา การคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพและการเข้าถึงบริการ ทั้งนี้ในชุมชนมีการคลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปี ทำให้มีความเสี่ยงมีผลกระทบต่อสุขภาพของแม่วัยรุ่นและปัญหาสุขภาพของทารกที่คลอด เช่น การคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์ และภาวะขาดออกซิเจนระยะแรกคลอดของทารก นอกจากนี้วัยรุ่น ทั้งหญิงและชาย มักดื่มแอลกอฮอล์ หรือสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้าที่กำลังฮิตในหมู่วัยรุ่นอย่างมาก ส่งผลให้เกิดปัญหายาเสพติด และอื่นๆตามมา ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อตัวตัวเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ ครอบครัว ผู้ปกครอง สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมในเด็กที่กำลังจะเข้าสู่วัยรุ่นในพื้นที่ จะชวยในการเพิ่มทักษะชีวิต ให้วัยรุ่นได้มีภูมิคุ้มกันมีความเข้มแข็งเผชิญกับปัญหาและใช้ชีวิตอย่างฉลาด ปลอดภัย สามารถขอคำปรึกษาคำแนะนำจากศูนย์บริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นในสถานบริการใกล้เคียงได้ สามารถจัดการกับปัญหาต่างๆได้
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 02/12/2024
กำหนดเสร็จ 31/07/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.เด็กนักเรียนได้รับความรู้เรื่องการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น ร้อยละ 80
2.เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดีที่เหมาะสม ร้อยละ 80
3.เด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 80