2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
สถานการณ์ภาวะน้ำหนักเกิน และโรคอ้วนในประเทศไทยมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี หากไม่รีบควบคุมแก้ไข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง จะทำให้เกิดปัญหาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามมา ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค เฝ้าระวังภาวะน้ำหนักเกินในโรคอ้วน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนชมรมออกกำลังกายรำกระบอง จึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายรำกระบองเพื่อสุขภาพขึ้น
กลุ่มการเต้นบาสโลบเพื่อสุขภาพ ม.2 ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพ จึงได้มีการจัดประชุมปรึกษาหารือในกลุ่ม เกี่ยวกับการจัดโครงการออกกำลังกายรำกระบองเพื่อสุขภาพที่ดี ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวาน และสร้างความรักสามัคคีในกลุ่ม และมีความตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายการมีสุขภาพที่แข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวานและการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งสร้างแกนนำ ในการออกกำลังกาย
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 03/02/2025
กำหนดเสร็จ 30/04/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
สามารถถั่วเฉลี่ยกันได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?- ประชาชนเกิดความตระหนักถึงประโยชน์การออกกำลังกาย
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายมีภาวะร่างกายที่เหมาะสม
- ประชาชนมีสุขภาพร่างกาย และจิตใจที่แข็งแรง สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่ว
- ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดปัญหาด้านสุขภาพ