แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150
อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 72 เดือน เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90 จากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ ยังมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด สามารถวิเคราะห์สาเหตุที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองขาดความตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญของการรับวัคซีน นำเด็กมาฉีดวัคซีนช้ากว่ากำหนด บางคนอ้างว่า ลืมนัด หาสมุดสีชมพูเด็กไม่เจอ สมุดสีชมพูเด็กหายบ้างเป็นต้น จึงทำให้เข็มต่อไปช้าไปด้วย หรือผู้ปกครองบางคนกลัวว่าเด็กจะเป็นไข้ หรือผู้ปกครองไม่มีเวลาเนื่องจากต้องทำงาน เด็กต้องตามผู้ปกครองไปทำงานต่างถิ่น/ต่างประเทศ เด็กไม่อยู่ในพื้นที่และไม่สามารถติดตามให้เด็กมารับบริการฉีดวัคซีนได้ เป็นต้น จึงมีผลกระทบในการรับวัคซีนตามเกณฑ์จากปัญหาดังกล่าว ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องให้ความรู้ คำแนะนำ แก่บิดา มารดา และครอบครัวของเด็ก ให้เห็นถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามวัย
-
1. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนตัวชี้วัด : ไม่พบโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 0.00
-
2. เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ครอบคลุมร้อยละ 90ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการฉีดวัคซีนเด็ก 0-5 ปี มากกว่าร้อยละ 90ขนาดปัญหา 4.00 เป้าหมาย 0.00
-
3. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีนตัวชี้วัด : ผู้ปกครองพาเด็กมาฉีดวัคซีนมากขึ้นขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 0.00
- 1. อบรมสร้างความตระหนักเชิงรุกในหมู่บ้านรายละเอียด
จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะหา จำนวน 37,480 บาท(เงินสามหมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยแปดสิบบาทถ้วน)รายละเอียดดังนี้ 1.ค่าวัสดุป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ 1 ผื่นๆละ 800 บาท x 4 หมู่บ้านเป็นเงิน3,200 บาท
2.ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ความรู้เรื่องวัคซีนแผ่นละ 10 บาท x 228 คน เป็นเงิน2,280 บาท 3. จัดประชุมจำนวน 4 หมู่บ้าน แบ่งเป็นจัดประชุมจำนวน 4 ครั้ง - ค่าอาหารกลางวัน 228 คน x 50 บาท x 1 มื้อเป็นเงิน11,400 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 228คน x 25 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 11,400บาท 4.ค่าวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องวัคซีน 4 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 6 ชม. รวม 24ชั่วโมงๆละ 300 บาท
เป็นเงิน7,200 บาท 5.ค่าเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ใช้ในการอบรม เช่น กระดาษออกแบบ บอร์ด ปากกาเคมี ฯลฯ
เป็นเงิน2,000บาท
รวมเงินทั้งสิ้น เป็นเงิน37,480 บาทงบประมาณ 37,480.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 5 ก.ค. 2568 ถึง 5 ก.ค. 2568
หมู่ 4 5 7 8
รวมงบประมาณโครงการ 37,480.00 บาท
- ผู้ปกครองมีความกระตือรือร้นและให้ความสำคัญเรื่องวัคซีนของเด็ก 0-5 ปี
- อัตราการมารับบริการวัคซีนเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้น
- อัตราการเกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนลดลง
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150
อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150
อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................