กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สร้างจิตสดใส ร่างกายแข็งแรง ปีงบประมาณพ.ศ. 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู

อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโคกตา

1.นางสารีมะห์ดาโอ๊ะ
2.นางอัมมือเซาะสะมะแอ
3.นางสาวรอซีด๊ะหะมะ
4.นางปาตีเม๊าะดือราแม
5.นายยาลียะปา

ชุมชนโคกตา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันผู้สูงอายุ ในเทศบาลตำบลปะลุรู มีจำนวนเพิ่มขึ้น และพบปัญหาสุขภาพด้านสุขภาพได้แก่ ปัญหาการเจ็บป่วยเป็นโรคเรื้อรัง เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และอีกหลายๆโรค ซึ่งมีผลต่อการดำเนินชีวิต ทั้งคุณภาพชีวิตลดลง ตลอดจนผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และบทบาทของครอบครัวต่อการดูแลผู้สูงอายุเริ่มมีแนวโน้มลดลง ซึ่งรัฐบาลได้มีนโยบายและกำหนดแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุตลอดมา แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้หมด ทั้งนี้แม้แต่การเข้าถึงบริการที่ไม่ทั่วถึง เนื่องจากยังเป็นการดูแลและบริการที่แยกส่วนระหว่างชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรต่างๆดังนั้นจึงไดจัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขใจ สร้างจิตสดใส ร่างกายแข็งแรง ชุมชนโคกตา ปีงบประมาณพ.ศ. 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตชุมชนโคกตา รู้จักการดูแลรักษาสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ก่อให้เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพกายใจของตนเองและผู้สูงอายุที่เหมาะสม

กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพกายใจ ร้อยละ 70

50.00 50.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสามัคคี และได้ทำกิจกรรมนันทนาการร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีความสามัคคี และได้ทำกิจกรรมนันทนาการร่วมกัน  ร้อยละ 70

50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2025

กำหนดเสร็จ 31/07/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
คัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 บรรยายให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
บรรยายให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

บรรยายให้ความรู้ รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน50 คนๆละ 50 บาท * 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 50 คนๆละ 25 บาท* 2 มื้อ * 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท 3. ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน * 5 ชม.ๆละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 4.ค่าไวนิล ขนาด 1 * 3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท 5. ค่าวัสดุในการจัดอบรม
- ค่าผ้าขนหนู ผืนละ 40 * 50 ผืน เป็นเงิน 2,000 บาท
-ค่าอุปกรณ์ 20 บาท * 50 คน เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
2.ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
3.ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว


>