2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
การสร้างและส่งเสริมสุขภาพ ถือเป็นหลักขั้นพื้นฐานของการมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีรัฐเป็นผู้สนับสนุนภายใต้ระบบบริการสุขภาพก็ต้องมีการพัฒนาให้มีคุณภาพเพื่อที่ประชาชนเข้าถึงได้สะดวกและมีประสิทธิภาพ โดยการร่วมมือกับองค์กรภาคประชาชนเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน งานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานส่งเสริมสุขภาพงานหนึ่งซึ่งหญิงตั้งครรภ์ทุกคนจะต้องได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขครบตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดเพื่อป้องกันควบคุมความเสี่ยงและลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ภายใต้บริบทการเข้าถึงการบริโภคข่าวสารข้อมูลทางสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กปีของจังหวัดยะลา ปี 2568 พบว่ายอดการตั้งครรภ์สูงขึ้นร่วมกับหญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงมากขึ้นเช่นเดียวกันกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร พบรายใหม่ 113 รายมีภาวะเสี่ยง22ข้อ จำนวน 110 รายคิดเป็นร้อยละ 97.34 เป็นโรคเสี่ยงสูง5โรคจำนวน 9 รายคิดเป็นร้อยละ 7.96 ,ฝากครรภ์ก่อน12สัปดาห์ร้อยละ 84.95 ตามตัวชี้วัด>75%,หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ร้อยละ 13.27 ตามตัวชี้วัด75%,น้ำหนักแรกคลอดน้อย2,500กรัมร้อยละ11.71 ตามตัวชี้วัด
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 03/03/2025
กำหนดเสร็จ 29/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้ตามความเหมาะสม
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.เพื่อสร้างเครือข่ายบูรณาการเชิงรุกในการติดตามและให้ความรู้ภาวะเสี่ยงต่างๆในช่วงการตั้งครรภ์และหลังคลอด
2. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน