2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ฟันผุเป็นปัญหาเรื้อรังที่สำคัญของประเทศไทย ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะกลุ่มเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ทำให้ไม่สามารถบดเคี้ยวอาหารได้ตามปกติมีผลต่อการสบฟันอันจะส่งผลต่อเนื่องไปยังการใช้งานของฟันแท้ตลอดชีวิตและส่งผลต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ(ผอม,เตี้ย) มากกว่าเด็กที่ไม่มีฟันผุ รวมทั้งส่งผลกระทบต่อการเรียนของเด็กจากการศึกษาของกองทันตสาธารณสุข พบว่าเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษามีปัญหาฟันผุสูงปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดโรคฟันผุคือการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลและไม่ทำความสะอาดฟันอย่างสม่ำเสมอ ได้แก่ร้อยละ 58 และร้อยละ 50 ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลมมากกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 63 บริโภคขนมและเครื่องดื่มระหว่างมื้ออีกทั้งร้อยละ 22 ไม่แปรงฟันก่อนนอน
ในการสร้างเสริมสุขภาพเด็กต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชนและโรงเรียนในการดูแลเด็ก พร้อมกับพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพสุขภาพช่องปากและเกิดทันตสุขนิสัยที่ดีเมื่อเติบใหญ่ต่อไปดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทุ่งพลาร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงจัดทำโครงการ “รวมพลังอสม...เด็กนักเรียนฟันดี”เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและมีคุณภาพด้วยยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 09/06/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีสมวัย
2. ลดอัตราการเกิดฟันแท้ผุในเด็กประถมศึกษา