2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
สรรถภาพทางกาย (Physical fitness) เป็นความสามารถของระบบต่างๆ ของร่างกายในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บุคคลที่มีสมรถภาพทางกายดีนั้นจะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้อย่างกระฉับกระเฉง โดยไม่เหนื่อยล้าจนเกินไปและยังมีพลังงานสำรองมากพอสำหรับกิจกรรมนันทนาการหรือกรณีฉุกเฉิน ในปัจจุบันสมรรถภาพทางกายสามารถจัดกลุ่มได้เป็น สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (health related physical fitness) และสมรรถภาพทางกลไก (motor fitness) หรือสมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (skill related physical fitness) การที่จะทราบได้ว่าระดับสมรรถภาพทางกายของตนเองอยู่ในระดับใดได้นั้น ต้องอาศัยการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ซึ่งผลจาการทดสอบนอกจากจะทำให้ทราบว่าสมรรถภาพทางกายของตนอยู่ในระดับใดแล้ว ยังจะเป็นแนวทางในการวางแผนสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายให้แก่บุคคลเหล่านั้นได้อย่างเหมาะสมต่อไป
จากความสำคัญของสมรรถภาพทางกายดังกล่าว โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา จึงได้จัดโครงการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพทางกายนักเรียนให้มีสมรรถภาพทางกายที่ดี
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/02/2025
กำหนดเสร็จ 31/08/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. นักเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
2. นักเรียน ได้ทราบระดับสมรรถภาพทางกายของตนเอง
3. นักเรียน ได้รู้แนวทางในการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสมของตนเอง โดยอาศัยผลของการทดสอบสมรรถภาพทางกายมากำหนดกิจกรรมหรือความหนักของการออกกำลังกาย