แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี รหัส กปท. L4135
อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นางรอดียะสะละ ประธานกรรมการ
2.นางสาวซูไม้ย๊ะห์มะลี รองประธาน
3.นางสาวอานีซะห์ยือริง เลขานุการ
4.นางรูสมาโซะสุมากรรมการ
5.นางสาวนูไอนีดีแลตานา กรรมการ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCDs ) เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมที่ดำเนินการ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ลงพุง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นำมาซึ่งความสูญเสีย ทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลัก ที่ทำให้เกิดโรคคือ กรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม นอกจากปัจจัยทางกรรมพันธุ์ที่ส่งเสริมการเกิดโรคแล้ว การมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ทั้งด้านอาหาร โดยการรับประทานอาหารเค็ม มัน หวาน ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูงเรื้อรัง ดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่เป็นประจำ นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญก่อให้เกิดโรคดังกล่าว ในพื้นที่รับผิดชอบของหมู่ที่ 6 บ้านบูเกะคละ มีครัวเรือน 380 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,577 คนแบ่งเป็นชาย 765 คน หญิง 812 คน พบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ในปี พ.ศ. 2567 สูงขึ้น ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 116 คน และโรคเบาหวาน จำนวน 36 คน หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสุขภาพ ตระหนักในการดูแลสุขภาพ เข้ารับการคัดกรองภาวะสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม จะสามารถดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน ลดโอกาสการเกิดโรคเรื้อรัง ชมรม อสม.หมู่ 6 บ้านบ้านบูเกะคละ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังขึ้น เพื่อลดอัตราการป่วยและช่วยป้องกันโรค ให้ประชาชนในพื้นที่ ให้มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
-
1. ข้อที่ 1 ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือนตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ ประชาชนอายุ 35 ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. ข้อที่ 2 ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับความรู้โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. กิจกรรมติดตามตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกเดือนรายละเอียด
- ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล
จำนวน 2 เครื่อง x 2,500 บาท
เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล จำนวน 2 เครื่อง x 1,200 บาท
เป็นเงิน 2,400 บาท - ถ่านกระดุม จำนวน 22 ก้อน x 50 บาท
เป็นเงิน 1,100 บาท - วงล้อคัดกรองความเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ขนาด 55 ซม จำนวน 1 ชิ้น x 1,500 บาท
เป็นเงิน 1,500 บาท
งบประมาณ 10,000.00 บาท - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล
- 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานรายละเอียด
5.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 40 คน
เป็นเงิน 3,000 บาท 6.ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 40 คน
เป็นเงิน 2,800 บาท 7.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 1 คน
เป็นเงิน 3,000 บาทงบประมาณ 8,800.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ตำบลบุดี
รวมงบประมาณโครงการ 18,800.00 บาท
- ประชาชน อายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพ ทุกเดือน
- ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี รหัส กปท. L4135
อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี รหัส กปท. L4135
อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................