แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ในปัจจุบัน โรคติดต่อที่สำคัญหลายโรคที่เกิดอันตรายต่อมนุษย์ มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ได้มีผลกระทบต่อมวลมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง โดยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่มีทั้งโรคติดต่อที่นำโดยแมลง โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคไข้เลือดออกโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคมือเท้าปาก โรคไอกรน และโรคหัด เป็นต้นซึ่งยังเป็นปัญหาที่ต้องเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นที่จะต้องให้ประชาชนในพื้นที่ ได้รับทราบข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับโรค การดูแลและป้องกันตนเอง รวมทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะต้องมีการพัฒนาความรู้เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคติดต่อ
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นปัญหาของชุมชน ประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพลดลง และให้ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจึงได้จัดทำโครงการการป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อและโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
-
1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง >80 ต่อแสนประชากรขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่องตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 0 ต่อแสนประชากรขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจโรคไข้เลือดออกมากกว่าร้อยละ 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชนรายละเอียด
- ค่าจัดซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1 ถัง x ถังละ 5,200 บาท = 5,200 บาท
- ค่าสเปรย์กำจัดแมลง จำนวน 13 ลัง x ลังละ 800 บาท = 10,400 บาท
- ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 5 ลัง x ลังละ 3,000 บาท = 15,000 บาท
- ค่าจัดซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1 ถัง x ถังละ 5,200 บาท = 5,200 บาท
- ค่าสเปรย์กำจัดแมลง จำนวน 13 ลัง x ลังละ 800 บาท = 10,400 บาท
- ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 5 ลัง x ลังละ 3,000 บาท = 15,000 บาท
- เครื่องไล่ยุงไฟฟ้าชนิดน้ำ จำนวน 25 เครื่อง X 200 บาท= 5,000 บาท
- รวมทั้งสิ้น 35,600 บาท
งบประมาณ 35,600.00 บาท - 2. รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาสรายละเอียด
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด1.2x2.4ม. จน.9 ป้าย =6,480บ.
งบประมาณ 6,480.00 บาท - 3. กิจกรรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในโรงเรียนรายละเอียด
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บาท x 200 คน = 5,000 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรร์อื่นๆ = 2,920 บาท - ปากกา - สมุด
- รวมทั้งสิ้น 7,920 บาท
งบประมาณ 7,920.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
รวมงบประมาณโครงการ 50,000.00 บาท
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และการพ่นหมอกควัน
- ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................