2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค เป็นปัญหาด้านการสาธารณสุขมาโดยตลอด แม้จะมีการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคอยู่ทุกปี
ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรค กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ณ วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๗ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม ๗๔,๕๒๒ ราย อัตราป่วย ๑๑๔.๘๐ ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต ๕๕ ราบ อัตราป่วยตายสูงสุดในกลุ่มอายุมากกว่า ๖๕ ปี ส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว ภาวะอ้วน และภาวะติดสุรา และพื้นที่รับผิดชอบของรพ.สต.ทุ่งนเรนทร์ ปี ๒๕๖๗ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน ๑๐ราย (๑ ม.ค. – ๓๑ ธ.ค๒๕๖๗) ช่วงอายุผู้ป่วย (อายุ ๗ ปี – ๒๕ ปี)
จากการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีทุกปี โดยเฉพาะช่วงฤดูฝน รพ.สต.ทุ่งนเรนทร์ได้ตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๘ โดยเน้นให้ความรู้
อสม.ทุกคน เพื่อไปถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนในพื้นที่หมู่บ้านรับผิดชอบ สามารถลดปัญหาการเกิดโรคไข้เลือดออกในปี ๒๕๖๘ นี้ได้
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
๑ เพื่อให้อสม.ทุกคน มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
๒ อสม.สามารถนำความรู้ไปแนะนำแก่ประชาชนในพื้นที่หมู่บ้านรับผิดชอบ
๓ เพื่อลดอัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ประจำปี ๒๕๖๘
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 03/02/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?๑ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
๒ อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกปี ๒๕๖๘ ลดลง