กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ ตำบลท่าหินอำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน

นางขวัญสุดาสังขพันธ์ เจ้าพนักงานสาธารรสุขชำนาญงาน
นายภานุพงศ์ สุวรรณละเอียด นักสาธารณสุขชำนาญการ

หมู่ที่ 1-6 ตำบลท่าหิน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 14 ปี เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ

 

11.59
2 ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 14 ปี มีโรคฟันผุ และภาวะเสี่ยงทางทันตกรรมในช่องปาก

 

48.76
3 นักเรียน ป.4- ป.6 มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (พอใช้)

 

62.30
4 นักเรียน ป.4- ป.6 มีพฤติกรรมการบริโภค (พอใช้)

 

63.47

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 นักเรียนชั้น ป.4-ป.5 โรงเรียนละ 25 คน เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ

นักเรียน ป.4-5 เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 50 คน

50.00 50.00
2 ผู้นำนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนและครอบครัวและชุมชน

ผู้นำนักเรียน และเพื่อนนักเรียน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพ ระดับดี (ร้อยละ 80)

50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/07/2025

กำหนดเสร็จ 25/07/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้นำนักเรียน ด้านส่งเสริมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้นำนักเรียน ด้านส่งเสริมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้นำนักเรียน ด้านส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 2 วัน มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 วัน จำนวน 2 มื้อ ๆละ 50 บาท จำนวน 50 คนเป็นเงิน 5,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 วัน จำนวน 4 มื้อ ๆ ละ 25 บาท จำนวน 50 คนเป็นเงิน 5,000 บาท 3. อาหารสาธิต เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 มิถุนายน 2568 ถึง 25 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้นำนักเรียน เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน
  2. ผู้นำนักเรียน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพ ในระดับดีตลอดจนนำความความรู้ที่ได้รับ ไปถ่ายทอดให้เพื่อนนักเรียนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11000.00

กิจกรรมที่ 2 สุ่มสำรวจความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ นักเรียน

ชื่อกิจกรรม
สุ่มสำรวจความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ นักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สุ่มสำรวจความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ นักเรียนในโรงเรียน วัดห้วยลาดและโรงเรียนวัดท่าหิน โดยใช้แบบสำรวจของกองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข โดย จนท.สาธารณสุขในพื้นที่ จำนวน 40 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 กันยายน 2568 ถึง 19 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน มีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ ระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้นำนักเรียน เพื่อนนักเรียน และประชาชนตำบลท่าหิน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพ ระดับดี (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ตามแบบสอบถามควารอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพ ของกองสุขศึกษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


>