กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

Panyangป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง

ชมรมอาสามัครสาธารณสุขตำบลราตาปันยัง

ตำบลราตาปันยัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตายและการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน และสังคม ตามลำดับ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก จะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่า

 

2.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ๒.เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน ๓. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ๔. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) ๒. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) ๒. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) ๑. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม๓๐ บาทX ๑๐๒ คนX ๒ ครั้งเป็นเงิน ๖,๑๒๐ บาท ๒. ค่าอาหารกลางวัน ๖๐ บาทX ๑๐๒ คนX1 ครั้ง เป็นเงิน ๖,๑๒๐ บาท ๓. ค่าวิทยากร จำนวน ๒ คนๆละ ๓ ชม.ๆละ ๖๐๐ บาทเป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท
๔. ค่าป้ายไวนิลในการอบรม จำนวน ๑ ป้ายเป็นเงิน๗๕๐ บาท ๒. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ๑. ค่าพาหนะ อสม.ออกสำรวจลูกน้ำยุงลาย๑๐ ครั้งๆละ ๕๐บาทX ๕๑ คน เป็นเงิน๒๒,๕๐๐ บาท ๒. กิจกรรมช่วงเกิดโรค ๒.๑ ค่าน้ำมันดีเซล ๕๐ ลิตรๆละ ๓๔.๕๐ บาทเป็นเงิน๑,๗๒๕บาท ๒.๒ ค่าน้ำมันเบนซิน ๕๐ ลิตรๆละ๓๗.๐๐บาทเป็นเงิน๑,๘๕๐บาท ๒.๓ ค่าสเปรย์ยุงลาย ๑๐๐ กระป๋องๆละ ๗๕ บาทเป็นเงิน๗,๕๐๐บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
53165.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 53,165.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
๒. ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่
๓. สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
๔. ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก


>