2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายด้วยโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่ง โรคมะเร็งปากมดลูกพบเป็นอันดับสองของมะเร็งในสตรี จะพบมากในกลุ่มอายุประมาณ 30 - 50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ HPV ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก และราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ HPV ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้น องค์การอนามัยโลกได้ประมาณอัตราการเพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น 2 เท่าของปัจจุบัน รายงานสถิติสาธารณสุขของศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขอัตราตายด้วยมะเร็งทุกชนิดสูงขึ้นตลอด โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่เป็นอันดับ 1 และมะเร็งปากมดลูกเป็นอันดับ 2 ในผู้หญิง ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำHPVในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30 – 60 ปีทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้
จากผลการดำเนินงานปี 2567 ที่ผ่านมา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ จัดรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 (กลุ่มเป้าหมายสตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี จำนวน 200 คน ) และมีผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจำนวน 450 คน คิดเป็นร้อยละ 71.42 (กลุ่มเป้าหมายสตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี จำนวน 630 คน ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖8 เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของสตรีกลุ่มเป้าหมาย โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรกรวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้นเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกั
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/03/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 70 ปี ในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงอันตรายของ
โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 70 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อและรักษาทุกราย (ร้อยละ 100)