2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
จากการสำรวจการคัดกรองสุขภาพประชาชนในพื้นที่พบว่าปัญหาการบริโภค การปฏิบัติตัวของประชาชนยังมีความไม่เหมาะสมและนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนโดยใช้กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จะช่วยลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว ทางโรงพยาบาลสุขภาพตำบลดอนรัก มีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพคน โดยมุ่งลดอัตราเพิ่มของการเจ็บป่วย ด้วยโรคป้องกันได้ 5 อันดับแรก คือ หัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง และหลอดเลือดสมอง เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลิตผล และลดรายจ่ายด้านสุขภาพ "เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็ง" อยู่ในกลุ่มของโรคที่เกิดจากวิถีชีวิตซึ่งเป็นปัญหาสำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทางชมรมอาสาสมัครตำบลดอนรัก ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนในตำบลดอนรัก จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการเพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อโรค อัมพฤกษ์ อัมพาต กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงจะได้นำส่งพบแพทย์ได้ทันถ่วงที
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/10/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจากองค์กรชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรักในการดำเนินงาน ชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง
2.ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยยึดหลัก 3อ. 2ส.
3.มีภาคีเครือข่าย การดำเนินงานในชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างต่อเนื่อง