2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตูของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกายเช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนานมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก จากการคัดกรองและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปปี 2568 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขเสริมสุขภาพดอนมีจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยที่ต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วย ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ได้ป่วยของของตำบลดอนอำเภอปะนาเระจังหวัดปัตตานีปีงบประมาณ 2568 ณ วันที่ 31 มกราคม 2568มีผลการคัดกรองดังนี้
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 04/02/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนมากขึ้น
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้
3. ชุมชนให้ความสนใจและตระหนักในการปรับพฤติกรรมสุขภาพและการปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการดูแลสุขภาพที่ดี