แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี รหัส กปท. L3031
อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก คือ ภาวะที่ร่างกายมีการขาดหรือพร่องธาตุเหล็กซึ่งทำให้มีปริมาณธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ที่จะนำไปสร้างเม็ดเลือดแดงได้ เป็นผลให้ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดงหรือความเข้มข้นของฮีโมโกลบิลือดต่ำกว่าปกติ จะพบว่ามีอาการซีดของเล็บและเปลือกตาด้านในด้วย ภาวะโลหิตจางหรือภาวะซีดในเด็กพบได้บ่อยทั้งในสังคมเมืองและชนบท เป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขของไทยและหลายประเทศที่กำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว สาเหตุของโลหิตจางมีมากมาย และพบได้แตกต่างกันตามช่ายุ ทั้งนี้การขาด/พร่องธาตุเหล็กเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด ที่ก่อให้เกิดโลหิตจางในเด็กและเป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดขาวะขาดสารอาหาร ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ธาตุเหล็กมีมากในสมองเป็นวนประกอบของไมอีลินชีท นิวโรทรานสมิตเตอร์ และมีส่วนสำคัญในการป้องกันเชื้อโรค ดังนั้นการขาดธาตุเหล็กจึงส่งผลเสียต่อการทำงานด้านกายภาพการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการเจ็บป่วยและพัฒนาการของสมองของเด็กก่อนวัยเรียนโดยเฉพาะเด็กเล็กอายุต่ำกว่า๒ ปี อีกทั้งส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ตามศักยภาพอย่างถาวรลดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของเด็กวัยเรียน และอาจมีความรุนแรงจนทำให้เสียชีวิต กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้แนะนำให้จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กอายุ ๖ เดือน ๕ ปีและนอกจากนั้นยังแนะนำให้ตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง เมื่อเด็กอายุ ๖ เดือนและ๑ ปีด้วย เพื่อป้องกันการขาดธาตุเหล็กที่จะนำไปสู่ภาวะโลหิตจางในเด็กต่อไป ดังนั้น ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ดังนั้น การคัดกรองภาวะซีดในเด็กอายุ ๖ เดือน -๑ ปี จะเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยป้องกัน และลดอัตราภาวะการขาด/พร่องธาตุเหล็กในหกเล็ก จึงได้จัดทำโครงการป้องกันภาวะโลหิตจางที่เกิดจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กขึ้นเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการต่อไป
-
1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการคัดกรองประเมินภาวะซีดในเด็กอายุ 6 เดือน - 1ปีตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้เด็กช่วงอายุ 6 เดือน - 1ปี ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางตัวชี้วัด : ร้อยละ 60ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อให้เด็กที่มีภาวะซีดได้รับการติดตาม 3 เดือนตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. จัดประชุมวางแผนการจัดทำโครงการและรูปแบบการดำเนินโครงการรายละเอียด
ไม่ใช้งบประมาณ
งบประมาณ 0.00 บาท - 2. อบรมแกนนำสาธารณสุขประจำหมู่บ้านรายละเอียด
ค่าอาหารกลางวันจำนวน 60 คน ๆ ละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 4,800 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ 1 วัน จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 4,200 บาท ค่าป้ายไวนิลโครงการฯขนาด1x3 ตร.ม. เป็นเงิน 900 บาท
ค่าวิทยากรจำนวน 5 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท ค่าจ้างจัดทำสื่ออุปกรณ์ป้ายไวนิล X-stand ขนาด 80x180 ซม. x 2ชิ้นๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น15,300 บาทงบประมาณ 15,300.00 บาท - 3. กิจกรรมติดตามประเมินผลรายละเอียด
-ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3เดือน
-สรุปการดำเนินงาน -ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องสรุปผลการดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่ายงบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
ตำบลเมาะมาวี
รวมงบประมาณโครงการ 15,300.00 บาท
หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ
กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรอง ประเมิน และตรวจภาวะโลหิตจางในเด็กอายุ 6 เดือน - 1ปีได้อย่างถูกต้อง และถูกวิธี
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี รหัส กปท. L3031
อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี รหัส กปท. L3031
อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................