กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมผู้ดูแลผู้ทีมีภาวะพึ่งพิง (Care Giver)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเมาะมาวี

ตำบลเมาะมาวี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ประเทศไทยถือเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Completed Aged Society) ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็นที่เรียบร้อย ในปี พ.ศ. 2564 และคาดว่าประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super Aged Society) ในปีพ.ศ. 2578 ซึ่งประชากรที่สูงอายุจะมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด นอกจากนี้ จากข้อมูลการสำรวจพบว่าร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุ ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาสำคัญที่ผู้สูงอายุไทย ประสบคือ ปัญหาทางเศรษฐกิจและสุขภาพ เกือบครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุ มีรายได้ไม่พอเลี้ยงชีพ และ 2 ใน 3 มีสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางถึงไม่ดีมาก โรคที่พบบ่อยของกลุ่มผู้สูงอายุ คือความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ปวดหลัง ปวดเอว ไขข้ออักเสบ โรคกระเพาะ นอกจากนี้ยังพบว่า ภาวการณ์เจ็บป่วยของผู้สูงอายุ เป็นเหตุผลสำคัญประการหนึ่ง ที่ทำให้ผู้สูงอายุ ไม่สามารถทำงานหาเลี้ยงชีพได้เจ็บป่วยและมีปัญหาสุขภาพ มีเพียง ร้อยละ 5 ที่สุขภาพแข็งแรง รัฐบาล โดยกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายสำคัญ ในการสร้างเสริมสุขภาวะสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง เป็นนโยบาย สำคัญเร่งด่วน มุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงโดยมีเป้าหมายสำคัญคือทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงมีการเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงและทำอย่างไรผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม โดยทีมสหวิชาชีพในระดับปฐมภูมิซึ่งจัดบริการดูแลด้านสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวีปีงบประมาณ 2567 ผู้สูงอายุ จำนวน1,098 คน (ข้อมูลวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 ) เป็นผู้สูงอายุ ติดสังคม 1,074 คน คนไข้ติดบ้าน จำนวน 15 คน และติดเตียง 9 คน และในพื้นที่ตำบลเมาะมาวี มีจำนวนผู้ดูแลผู้สูงอายุ ( Caregiver) 10 คน
เมื่อสังคมไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Completed Aged Society) การเตรียมความพร้อมของผู้ดูแลผู้สูงอายุ โดยมีการอบรมผ่านหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ ( Caregiver) 70 ชั่วโมง เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุปฏิบัติตนในการดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยระยะสุดท้าย เพื่อให้ได้รับการ ดูแลที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมด้วยระบบการบริการการดูแล เยี่ยมบ้านของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ 02/06/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน x 1 มื้อ x 80 บาท   เป็นเงิน   800   บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน x 2 มื้อ x 35 บาท  เป็นเงิน   700 บาท ค่าวิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 6 ชั่วโมง  เป็นเงิน   3,600  บาท
ค่าจัดทำป้ายโครงการฯ (ไวนิล) ขนาด 1.2x2.5 เมตร จำนวน 1 ผืน  เป็นเงิน   900    บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับอบรมจำนวน 10 คนๆละ 100  บาท เป็นเงิน   1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประเมินผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มิถุนายน 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


>