2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ในปัจจุบันพบว่าเด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันผุเป็นจำนวนมาก สาเหตุหลักของฟันผุในเด็กเล็กมาจาก
พฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม เช่น การให้เด็กทานขนมหรือนมที่มีรสหวานเป็นประจำ การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนมหลังจากฟันขึ้นแล้ว หรือผู้ปกครองละเลยเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากผลกระทบของโรคฟันผุในเด็กสามารถส่งผลต่อสุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากในอนาคตได้ การมีฟันน้ำนมผุ เด็กจะปวดฟัน เคี้ยวอาหารไม่ได้ ร่างกายจะได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน ส่งผลต่อการเจริญเติบโต อีกทั้งอาการปวดฟันยังส่งผลต่อการนอนหลับและการเรียนรู้ สิ่งเหล่านี้ล้วนกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กตัวเล็กๆ สามารถขัดขวางพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์และสติปัญญาได้
ดังนั้นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาช่องปากที่ถูกวิธี เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งจะส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีฟันสวยสุขภาพฟันดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาตันหยงซึ่งมีหน้าที่ดูแลเด็กปฐมวัย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย จึงได้จัดโครงการหนูน้อยฟันสวยด้วยสุขภาพฟันดี ขึ้น
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/07/2025
กำหนดเสร็จ 31/07/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ผู้ปกครอง ครู/บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพช่อง
ปากที่ถูกวิธี
2.เด็กมีสุขภาพช่องปากที่สะอาดฟันไม่ผุ
3.ฟันผุในเด็กปฐมวัยลดน้อยลง