กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

หนูน้อยสุขภาพดีด้วยกิจกรรมขาไถ Balance Bike ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสภาพปัญหาของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ ผลจากการประเมินและการสังเกตพฤติกรรมของเด็กจากการเล่นและการเคลื่อนไหวตลอดปีการศึกษา ปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 7 คนจากจำนวนที่เข้ารับการเลี้ยงดู 34 คน คิดเป็นร้อยละ 20.59 การเคลื่อนไหวที่ไม่สมวัย ล้มบ่อย สะดุดบ่อย ไม่ชอบวิ่ง ไม่ชอบกระโดด ไมชอบเล่นปีนป่าย และเครื่องเล่นสนาม มักจะนั่งอยู่ที่เดียว และมีบางคนเคลื่อนไหวค่อยข้างช้า ครูต้องคอยกระตุ้น ให้วิ่ง ให้กระโดด และให้ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ครูต้องคอยสังเกตอย่างสม่ำเสมอ
ในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การส่งเสริมกิจกรรมกล้ามเนื้อใหญ่ เป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในเด็กปฐมวัย เพราะการที่เด็กมีสุขภาพที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจส่งผลให้สามารถเรียนหรือทำกิจกรรมต่างไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ และกิจกรรมรถขาไถสามารถส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ให้แข็งแรงคล่องแคล่วว่องไว ฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถ) ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ 4 ด้าน สมวัย

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ ร้อยละ 90 มีพัฒนาการ 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย

0.00
2 เพื่อให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ ร้อยละ 100 ได้ออกกำลังกาย กิจกรรมขาไถในทุกวัน

0.00
3 เพื่อให้เด็กมีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำ ร้อยละ 90 มีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 34
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 28/03/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ไม่ใช้งบประมาณ-

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ไม่ใช้งบประมาณ-

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ชุดรถขาไถ จำนวน 8 คันๆละ 950 บาท เป็นเงิน 7,600 บาท
  • ชุดอุปกรณ์ป้องกันหมวกกันน็อค จำนวน 8 ชุด ชุดละ 150 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ชุดอุปกรณ์ป้องกัน ประกอบด้วย สนับแขน สนับเข่า จำนวน 8 ชุด ชุดละ 150บาท เป็นเงิน 1,200 บาท รวม 10,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ -ไม่ใช้งบประมาณ-

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ไม่ใช้งบประมาณ-

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ไม่ใช้งบประมาณ-

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านสมวัย
2. เด็กปฐมวัยได้ออกกำลังและมีสุขภาพแข็งแรงเติบโตสมวัย
3. เด็กมีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว


>