2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่ดีจะทำให้มารดามีสุขภาพดีระยะตั้งครรภ์และระยะหลังคลอดเป็นช่วงเวลาที่ร่างการของมารดามีการเปลี่ยนแปลงก่อนคืนสู่สภาพก่อนการตั้งครรภ์ทั้งด้าน กายวิภาคและสรีระ องค์การอนามัยโลกได้กำหนดเวลาของระยะนี้ไว้ 6 สัปดาห์ หรือ 42 วัน นับจากวันคลอดทารกในระยะหลังคลอดนอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายแล้วยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจด้วย นอกจากนี้ยังเป็นระยะที่อาจเกิดอันตรายจากการตกเลือด และการติดเชื้ออันเป็นสาเหตุการตายของมารดาที่สำคัญในประเทศด้อยพัฒนารวมทั้งประเทศไทยด้วย ดังนั้นการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องจะช่วยให้มารดาและทารกหลังคลอดมีสุขภาพแข็งแรง ชึ่งบุคลากรทางสาธารณสุข อสม. มีส่วนสำคัญในการดุแล และให้คำแนะนำ เพื่อให้มารดามีความรู้และสามรถดูแลตนเองและทารกได้ถูกต้อง
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขา จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพมารดาตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด เพื่อป้องกันปัญหาระยะยาว จึงจัดทำโครงการตรวจเยี่ยมสุขภาพแม่หลังคลอด ซึ่งเป็นการเยี่ยมติดตาม เสริมพลังที่ดีในการดูแลรักษาสุขภาพที่ยั่งยืนต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/02/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 90
2. มารดามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองและทารกหลังคลอด ร้อยละ 80
3. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดรวมถึงครอบครัวให้เป็นไปในทางบวก ร้อยละ 70