2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากของโรคมะเร็งทั้งหมดสถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมาพบแพทย์เมื่อระยะของโรคมะเร็งอยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงแต่จะสามารถป้องกันและควบคุมได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้คัดกรองโดยการตรวจเซลมะเร็งโดยเน้นการตรวจ Pap Smear ให้พบตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็งโดยเฉพาะโรคมะเร็งที่สามารถค้นหาและตรวจคัดกรองได้ด้วยตนเองเช่นมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง ครอบคลุมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความรู้ ความเข้าใจในการถ่ายทอด อธิบายถึงขั้นตอน วิธีในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น อาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านโคกสยา จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริยพันธุ์ ขึ้น เพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมาย ให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการดูแลการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/04/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. อัตราการป่วยจากโรคมะเร็งลดลง
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม