กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม.นับคาร์บได้ ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเครียะ

นางสาวอาภรณ์ไพศาล
นางสาวเสาวณีย์ ห้องชู
นางอำนวย เซ่งเอียง
นายวินัยชูเปีย
นายประมวญ ช่วยแท่น
นางสาลีชูบัวทอง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กระทรวงสาธารณสุข เดินหน้าลดปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจ ปักหมุด 6 จุดทั่วไทย รณรงค์ "คนไทยห่างไกล NCDs" เริ่มต้นที่ภาคใต้ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยน
จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า และช่วยลดค่าใช้จ่ายด้ยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease : NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันสูงและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น กินอาหารหวานจัด เค็มจัด ไม่ดื่มแฮลกอฮอล์ สูบบุหรี่ นอนดึก มีความเครียดสูง เป็นต้น ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจสูงถึงปีละ 1.6 ล้านล้านรักษาพยาบาลทางตรงและความสูญเสียทางอ้อม โดยข้อมูลปี 2560 ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายงกว่า 62,138 ล้านบาท และมีคนไทยต้องเสียชีวิตจากโรค NCDS ปีละกว่า 400,000 ราย กระทรวงสาธารายแก้ไขปัญหา โดยผลักดันการส่งเสริมสุขภาพและแนวคิดวิถีชีวิตเพื่อสุขภาพที่ตีไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งปาย มาตรการต่างๆ ให้เอื้อในการต่อสู้กับโรค NCDS สนับสนุนแนวคิดสุขภาพดี สิทธิประโยชน์เพิ่ม รวมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs เพื่อลดอัตราการป่วยก่อนเข้าสู่ระบบการรักษา
การขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs ต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจจากบุคลากรสาธารณสุขและพี่น้อง อสน.สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการปรับพฤติกรรม ทั้งการกินอาหารให้เหมาะสมกับการใช้พลังคาร์บหรือคาร์โบไฮเตรตที่มาจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล รวมถึงมีการอออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยวยรายเก่าและลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและรัฐบาล
ได้ การขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs จะดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่
1. สร้างระบบบริการด้านสุขภาพ โดย จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCD: พร้อมสร้างครู ก เป็นแกนหลัก เริ่มต้นต้นอ๋าเภอละ1 ตำบล, จัดตั้ง NCDs Remission Clinic ในโรงพยาบาลทุกระดับ/รพ.สต. ทุกจังหวัด และสร้างทีมผู้น้ำต้านภัย NCDsทั้งระดับเขตในทุกจังหวัด ระดับอำเภอๆ ละ 1 ทีม และระดับ รพ.สต. ตำบลละ 1 ทีม
2. ส่งเสริมความร่วมมือสหสาชาวิชาชีพ โดยพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพพย์และร่วมมือกับสหสหสาชาชีพในกาดำเนินการ NCDs remission Clinic, พัฒนาคู่มือแนวทางการดำเนินงาน / ระบบรายงานข้อมูล
3. ให้ความรู้ อสม. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงเข้าศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมทั้เป็นพี่เลี้ยงและติดตามผลตำบลตะเครียะ
มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 305 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.47 ของประชากร
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 652 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.25 ของประชากร
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 164 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.09 ของประชากร
กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 196 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.09 ของประชากร
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเครียะ ได้เห็นความสำคัญของการนับคาร์บ จึงได้จัดทำโครงการ อสม.. นับคาร์บ ได้ เพื่อ อสม. จะได้นำความรู้ไปเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้กับประชาชน และลดความเจ็บป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
(NCDs) ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 อสม.มีความรู้ ความเข้าใจในการนับคาร์บ ได้ถูกต้อง

อสม.มีความรู้ ความเข้าใจในการนับคาร์บ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

0.00
2 ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รายใหม่ ลดลง ร้อยละ 5 ต่อปี

ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รายใหม่ ลดลง ร้อยละ 5 ต่อปี

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมส่งเสริมความรู้แก่ อสม.

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมส่งเสริมความรู้แก่ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. คู่มือ อสม. ชวนนับคาร์บ จำนวน 110 เล่มๆละ 65 บาทเป็นเงิน 7150 บาท
  2. อาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าอบรม ผู้จัดอบรม วิทยากร) จำนวน 110 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 30 เป็นเงิน 6,600 บาท
  3. อาหารกลางวัน (ผู้เข้าอบรม ผู้จัดอบรม วิทยากร) จำนวน 110 กล่องๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 6,600 บาท
  4. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 วันๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ ป้ายโฟมบอร์ด จำนวน 10 ป้ายๆละ 800 บาท เป็นเงิน 8000 บาท
  5. เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดแบบพกพา เครื่องละ 2,450 บาท จำนวน 4 เครื่อง เป็นเงิน 9800 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 41150 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
41150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อสม ในตำบลตะเครียะ มีความรู้ ความเข้าใจในการรับคาร์บได้ ได้ถูกต้อง
2. อสม.ในตำบลตะเครียะ สามารถ ชวนประชาชน อายุ 15 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ นับคาร์บได่้
3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง รายใหม่ ลดลง ร้อยละ 5 ต่อปี


>