กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

โรงเรียนบ้านนาม่วง

โรงเรียนบ้านนาม่วง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สดสะอาด ปลอดภัยจากสารเคมี เชื้อรา และเชื้อโรคต่างๆ

 

0.00
2 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย

 

0.00
3 3. เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้นักเรียนมีทักษะในการสร้างแหล่งอาหารด้วยตนเอง

 

0.00
4 4. เพื่อเชื่อความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและโรงเรียน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้ตอนเช้าหน้าเสาธง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้ตอนเช้าหน้าเสาธง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสร้างอาหารทานเอง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสร้างอาหารทานเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย เก็บข้าว (วันเสาร์-อาทิตย์ที่ 29 -30 มีนาคม 2568)                  - อาหารกลางวัน สำหรับคณะครูและบุคลากร 15 คน
       และนักเรียน/เยาวชน/ผู้ปกครอง 65 คน รวม 80 คน
       จำนวน 2 วัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท (80502)    เป็นเงิน        8,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะครูและบุคลากร 15 คน และนักเรียน/เยาวชน/ผู้ปกครอง 65 คน รวม 80 คน
จำนวน 2 วันๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท (80252*2) เป็นเงิน  8,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมย่อย ปลูกผักสวนครัว (เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน 2568

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย ปลูกผักสวนครัว (เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • เมล็ดพันธุ์สวนครัว 10 ชนิดๆ ละ 10 ซองๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  • สายยางรดน้ำ 4 หุน 50 เมตรๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน      500 บาท
  • บัวรดน้ำ ขนาด 4 ลิตร 4 ลูกๆ 95 บาท เป็นเงิน            380 บาท
  • พลั่ว+ส้อมพรวนดิน ขนาด 88*290 ม.ม.10 อันๆละ 65 บ.เป็นเงิน   650 บาท
  • จอบถากพร้อมด้าม จำนวน 2 ด้ามๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน      440 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2970.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมย่อย ทำปุ๋ยจุลินทรีย์ใช้เอง (เดือนมิถุนายน - เดือนกันยายน 2568)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย ทำปุ๋ยจุลินทรีย์ใช้เอง (เดือนมิถุนายน - เดือนกันยายน 2568)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ถังหมัก 150 ลิตร 5 ถังๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน          2,250 บาท                 - รำละเอียด 25 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน                 250 บาท                 - แกลบ 25 กระสอบๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน               375 บาท                 - กากน้ำตาล 25 กก.ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน             500 บาท                 - กระสอบปุ๋ย 75 ใบๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน                 375 บาท                 - มูลวัว 25 กระสอบๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน          1,250 บาท                 - เศษปลา/พุงปลา 60 กก.ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน             900 บาท                 - สับปะรด 30 กก.ๆ 15 บาท เป็นเงิน                 450 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คนๆ 2 ชม.ๆ ละ 600/ชม. เป็นเงิน 2,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8750.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมทดสอบสารพิษในอาหาร (Cooking Camp)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทดสอบสารพิษในอาหาร (Cooking Camp)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ชุดทดสอบสารบอแรกซ์ 2 แบบผง GPO 2 ชุดๆ 250*2 เป็นเงิน       500 บาท
  • ชุดทดสอบโซเดียม (ความเค็ม) จำนวน 2 ชุดๆ 250*2 เป็นเงิน         500 บาท
  • ชุดทดสอบสารฟอร์มาลิน จำนวน ๑๐ ชุดๆ 65*10 เป็นเงิน      650 บาท
  • ชุดทดสอบสารตกค้างพวกยาฆ่าแมลง(MJPK Test kit) 1 ชุดเป็นเงิน 1,233 บาท
  • ป้ายไวนิลกิจกรรมค่ายขนาด (240120)1 เป็นเงิน         547 บาท
  • ป้ายไวนิลความรู้ขนาด (100100)4 เป็นเงิน                 600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับนักเรียน 65 คน วิทยากร
    ผู้ปกครอง คณะครูและบุคลากร  รวม 20 คน รวมทั้งสิ้น 85 คน
    จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท (85252) เป็นเงิน             4,250 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 กรกฎาคม 2568 ถึง 11 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8280.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. หลังจากที่ได้ทำกิจกรรมให้ความรู้หน้าเสาธง สัปดาห์ละครั้งนักเรียนที่ไม่เคยรับประทานผัก ก็เริ่มรับประทานเพราะทราบถึงประโยชน์ในของผักที่รับประทานเข้าไป พร้อมทั้งเลือกรับประทานผักที่ปลอดภัยไร้สารเคมี จึงทำให้นักเรียนสุขภาพดี ระบบขับถ่ายดี
2. นักเรียน และผู้ปกครองมีความมั่นใจในอาหารกลางวัน ที่นักเรียนรับประทาน ว่าปราศจากเชื้อโรค และสารพิษต่างๆ
3. ได้แกนนำนักเรียน เยาวชน ผู้ปกครอง ที่ตระหนักถึงอันตรายจากสารพิษที่ปนเปื้อนมากับอาหาร และวัตถุดิบในการประกอบอาหารต่างๆ โดย เลือกปลูกข้าวปลูกผักทานเอง รวมถึงสามารถขยายผลต่อให้กับผู้อื่นได้ นอกจากนั้น ผักสวนครัว และข้าวในนาที่นักเรียน ครู และผู้ปกครองช่วยกันปลูก จะเป็นข้าวและผักปลอดสารพิษ ซึ่งเมื่อถึงระยะเวลาเก็บเกี่ยว นักเรียนและครู เยาวชน และผู้ปกครองจะช่วยกัน และส่งต่อ แจกจ่าย และนำไปให้แม่ครัวนำมาปรุงเป็นอาหารกลางวันได้ กิจกรรมนี้ ทำให้ครู นักเรียน เยาวชน และผู้ปกครอง และเมื่อผักถูกนำไปปรุงเป็นอาหารแล้ว นักเรียนมีความภาคภูมิใจกับผลงานของตัวเอง และรับประทานอาหารที่ปรุงด้วยผักปลอดสารพิษมั่นใจ ส่งผลให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดีในที่สุด


>