กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกลุ่มเสี่ยง ลดโรค กลุ่มป่วย ลดแทรกซ้อน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ) เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนิน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคอ้วน ลงพุง โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคถุงลมโปร่งพองและโรคมะเร็ง ซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของโลกจากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก( WHO ) พบประชาการทั่วโลกเสียชีวิตจากโรค NCDs มีแนวโน้มขึ้น จาก 38 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 68 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของประชาการโลก ) ปี พ. ศ. 2557- 2561 พบอัตราเสียชีวิตอย่างหยาบอันมีสาเหตุมาจาก โรคไม่ติดต่อที่สำคัญ มีแนวโน้มขึ้นในประชากรไทย โดยในปี พ. ศ. 2561 โรคไม่ติดต่อ ที่เป็นสาเหตุการตาย 3 อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งรวมทุกประเภท รองลงมา คือ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด คิดเป็นอัตราเสียชีวิตเท่ากับ 123.3 47.1 และ 31.8 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 : กองโรคไม่ติดต่อ กรมครบคุมโรค )
จากการสำรวจปัญหาสุขภาพสุขภาพของประชาชน ในพื้นที่ พบว่า ในปี 2565-2567 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 135 คน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน330 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามลำดับและผู้ป่วยโรคเรื้อรังติดเตียง จำนวน 4 คน และติดบ้าน จำนวน 8 คนซึ่งอยู่ในกลุ่มวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเสาหลักของครอบครัว เพื่อหาเลี้ยงชีพครอบครัว ซึ่งหากกลุ่มนี้มีปัญหาสุขภาพ อาจทำให้ส่งผลในการดำเนินชีวิตของครัวครัวได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเรื้อรังจึงได้จัดทำโครงการกลุ่มเสี่ยง ลดโรค กลุ่มป่วย ลดแทรกซ้อนดังกล่าว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่

 

0.00
2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเรื้อรังมากขึ้น และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2025

กำหนดเสร็จ 31/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดทำโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 กำหนดการจัดกิจกรรม ตามแผนงานในโครงการ

ชื่อกิจกรรม
กำหนดการจัดกิจกรรม ตามแผนงานในโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คนๆละ 35 บาท * 2 มื้อ เป็นเงิน 4,200 บาท
  3. ค่าอาหารและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คนๆละ 80 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
  4. ค่าชุดนิทรรศการ ขนาด 80*180 เซนติเมตร จำนวน 5 ชุดๆละ 900 บาทเป็นเงิน 4,500 บาท
  5. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.2*2.4 เมตรเป็นเงิน 720 บาท
  6. ค่าวัสดุอื่นๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการเป็นเงิน 2,180บาท

- กระเป๋าใส่เอกสารขนาด A4 จำนวน 60 ใบๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - กระดาษ A4 จำนวน 1 รีมเป็นเงิน 120 บาท - กระดาษโรตี จำนวน 3 ม้วนๆละ 20 บาทเป็นเงิน 60 บาท - ปากกา จำนวน 60 ด้ามๆละ 7 บาทเป็นเงิน 420 บาท - ปากกาเคมี จำนวน 4 ด้ามๆละ 20 บาท เป็นเงิน 80 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลโครงการ/สรุปการประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลโครงการ/สรุปการประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ เรื่องโรคเรื้อรังมากขึ้น ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง
2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ในการดูแลตนเอง และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
3.จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกลโรค และ NCD Remission Clinic. เพื่อกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรค และภาวะแทรกซ้อน


>