กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมโภชนาการและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย ประจำปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุ ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำผุตา

 

100.00

จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุ ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำผุตามมา การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย และ
สิ่งสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือการเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการในด้านต่างๆ ทั้งทางร่างกาย จิตใจและสมองอย่างเหมาะสม การดูแลจัดการอาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็ก รวมถึงภาวการณ์เจริญเติบโต เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคโดยไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน ผอม/เตี้ย เป็นต้น การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยจึงมีความจำเป็นมากในปัจจุบัน เพื่อเป็นการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโดเล็งเห็นความสำคัญของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จึงได้กำหนดแนวทางดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมโภชนาการและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการการเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพในการดำรงชีวิตประจำวันที่ดี จึงได้จัดทำโครงการฯนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟันที่ดี
  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟันที่ดี ร้อยละ 70
70.00 0.00
2 2. เพื่อให้เด็กและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพในช่องปากและฟัน
  1. เพื่อให้เด็กและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพในช่องปากและฟัน ร้อยละ 80
80.00 0.00
3 3. เพื่อลดภาวะเด็กผอม เตี้ย และพัฒนาการล่าช้า

 

70.00 0.00
4 4. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู มีความรู้ในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง

ผู้ปกครอง ครู มีความรู้ในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80

80.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ทันตสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ทันตสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพอนามัยในช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทางทันตสุขภาพ
  2. ตรวจสุขภาพอนามัยในช่องปากเด็กปฐมวัย และสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี
  3. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเเรียน ปีละ 2 ครั้ง (เดือนกรกฎาคม, มกราคม) และส่งรักษาต่อในรายที่พบปัญหาเร่งด่วน
  4. จัดให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน โดยมีผู้ดูแลเด็กเป็นผู้ควบคุม งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จำนวน 49,780.- บาท รายละเอียดดังนี้
    1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร เป็นเงิน800 บาท
    2. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
    5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ
  5. ชุดแปรงสีฟัน ยาสีฟัน จำนวน 75 ชุด ๆละ 70 บาท เป็นเงิน5,250 บาท
  6. ภาพโปสเตอร์การแปรงฟัน จำนวน 5 แผ่น ๆ ละ 45 บาทเป็นเงิน225 บาท
  7. หนังสือนิทานจำนวน 6 เล่ม 560 บาท เป็นเงิน 3,360 บาท
    1. ค่าอาหารเสริมเพื่อแก้ไขเด็กที่มีภาวะโภชนาการ ประกอบด้วย 5.1. นมกล่อง จำนวน 25 คน ๆ 60 กล่อง ๆ 10 บาท เป็นเงิน15,000 บาท 5.2. ไข่ จำนวน 25 คน ๆ ละ 60 ฟอง ๆ ละ 7 บาทเป็นเงิน 10,500 บาท
  8. ภาพโปสเตอร์อาหารหลัก 5 หมู่ จำนวน 5 แผ่น ๆ ละ 45 บาทเป็นเงิน 225 บาท
    1. ค่าวัสดุอุปกรณ์การสาธิตอาหาร 7.1 ขนมปัง จำนวน 60 ถุง ๆละ 45 บาท เป็นเงิน2,700 บาท 7.2 ผัก
    • แตงกวา จำนวน 2 กก.ๆละ 40 บาท เป็นเงิน 80 บาท
    • มะเขือเทศ จำนวน 2 กก.ๆละ 55 บาท เป็นเงิน 110 บาท
    • แครอท จำนวน 2 กก.ๆละ 30 บาท เป็นเงิน 60 บาท
    • ผักสลัด จำนวน 2 กก.ๆละ 180 บาท เป็นเงิน 360 บาท 7.3 ไข่ จำนวน 6 แผง ๆละ 120 บาท เป็นเงิน 720 บาท 7.4 ซอสมะเขือเทศ จำนวน 2 ชุด ๆละ 65 บาท เป็นเงิน 130 บาท 7.5 ซอสพริก จำนวน 2 ชุด ๆละ 60 บาท เป็นเงิน 120 บาท 7.6 มายองเนส จำนวน 2 ชุด ๆละ 70 บาท เป็นเงิน 140 บาท 7.7 เนื้อ ไก่ จำนวน 2 ถุง ๆละ 250 บาท เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น49,780 บาท (เงินสี่หมื่นเก้าพันเจ็ดร้อยแปดสิบบาทถ้วน) หมายเหตุ : รายการใดไม่พอจ่ายให้ถัวเฉลี่ยจากรายการอื่นได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
49780.00

กิจกรรมที่ 2 การสาธิตอาหาร

ชื่อกิจกรรม
การสาธิตอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู ผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก พัฒนาการเด็ก และการออกแบบการแก้ปัญหา
  2. สาธิตการประกอบอาหาร เช่น ผัดทอด แซ่นวิชผัก
  3. ประเมินและคัดกรองภาวะโภชนาการของเด็ก
  4. การจัดอาหารเสริม นม ไข่ เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะเตี้ย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,780.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟันที่ดี
2. เด็กและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพในช่องปากและฟัน
3. ลดภาวะเด็กผอม เตี้ย และพัฒนาการล่าช้า
4. ผู้ปกครอง ครู มีความรู้ในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง


>