กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต ตำบลปะโด ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ มีสติปัญญาและศักยภาพที่ดี ในช่วง 1000 วันแรกของชีวิต2. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ชุมชนและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล และเอาใจใส่ต่อสุขภาพของสตรี ตั้งครรภ์และเด็กอายุ 0-2 ปี3.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนและมีพัฒนาการตามวัย4. เพื่อบูรณาการงานและสร้างความร่วมมือจากครอบครัว ภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆ ในการพัฒนาสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ และเด็กอายุ 0-2 ปีและครอบครัว 5. เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีมาตรฐาน ตามชุดสิทธิ์ประโยชน์ที่พึงได้รับในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็กอายุ 0-2 ปี

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.เด็กมีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย และจิตใจ 2.ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้ความตระหนักในการเลี้ยงดูเด็ก ส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3.เด็กมีสุขภาพ สูงดี สมส่วน และพัฒนาการตามวัย
พบเสี่ยงภาวะซีด ได้รับการรักษาร้อยละ 100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแจกจ่ายเกลือไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย (ตำบลไอโอดีน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมแจกจ่ายเกลือไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย (ตำบลไอโอดีน)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมย่อย จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปะโด จำนวน 23,800 บาท
เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ และอสม.  จำนวน 30 คน    -ค่าอาหารกลางวัน 60 บาทต่อ 1 มื้อต่อวัน จำนวน 30 คน
   -ค่าอาหารว่าง 30 บาทต่อมื้อ 2 มื้อต่อวัน จำนวน 30 คน
3. จัดชุดของรับขวัญเด็กแรกเกิด  90 คนชุดละ 100 บาท
4. จัดชื้อไข่ไก่จ่ายเด็กปฐมวัยที่มีภาวะเสี่ยงจำนวน 70 คน ต่อแผงๆ ละ 140 บาท
5. จัดกิจกรรมแจกจ่ายเกลือไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย (ตำบลไอโอดีน) จำนวน 70 ห่อๆละ 20 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เกิดความร่วมมือผ่านภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
2.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วและสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้
3.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องภาวะโภชนการในระหว่างตั้งครรภ์และภาวะซีด พร้อมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนครอบครัวและเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
4.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการใช้เครื่องมือ DSPM ตรวจพัฒนาการได้อย่างถูกต้อง
5.เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการเจริญเติบโต ตามวัยเต็มศักยภาพและได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะสุขภาพ
6.ฟันน้ำนมครบ 12 ซี่ไม่ผุ
8.พัฒนาการสมวัยของเด็กวัยสองขวบ พร้อมเข้าสู่ศูนย์เด็กเล็ก
9. เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการช่วยเหลือและแก้ไข


>