กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิ๊ต

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิ๊ต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในเรื่องของการรับประทานอาหารเป็น 1 ในปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว ก่อให้เกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรัง หรือ กลุ่มโรค NCDs ตามมา ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งจะมีการดำเนินของโรคอย่างช้า ๆ ค่อย ๆ สะสมอาการไปเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องจนทวีความรุนแรง และเมื่อมีอาการของโรคแล้วจะเกิดการเรื้อรังของโรคตามมาด้วย ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง และพบว่าผู้ป่วยจำนวนมากเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDS) ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาวะโรค และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (อายุ 30 - 69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ที่สำคัญประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว มักเกิดจาก“กรรมพันธุ์และพฤติกรรม” เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสุขภาพที่ถูกต้องฉะนั้นหากมีการดูแลสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้น จะสามารถป้องกันและห่างไกลจากโรคได้
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิ๊ตได้เล็งเห็นและตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว และให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรค จึงได้จัดทำโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวันที่ถูกต้องและห่างไกลจากโรคเรื้อรัง(NCDs)

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวันที่ถูกต้อง ร้อยละ 90

0.00 90.00
2 เพื่อคัดกรองและส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง (NCDs)

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง (NCDs) ร้อยละ 90

90.00
3 เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง(NCDs)

ลดอัตราป่วยรายใหม่ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (NCDs) ร้อยละ 10

10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/04/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 คัดกรองวัดความดัน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินดัชนีมวลกายในกล่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองวัดความดัน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินดัชนีมวลกายในกล่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม60 คน × 25 บาท × 2 มื้อเป็นเงิน 3,000บาท

ค่าอาหารกลางวัน60 คน × 60 บาท × 1 มื้อเป็นเงิน 3,600 บาท

ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 750 บาท

ค่าวิทยากร 1 คน x600 บาท x 6 ชม.เป็นเงิน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวันที่ถูกต้อง

-ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง (NCDs)


-ลดอัตราป่วยรายใหม่ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (NCDs)


>