กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้กลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่กลุ่มเป้าหมาย ให้ห่างไกลจากยาเสพติด 3. เพื่อให้เกิดแกนนำคนรุ่นใหม่ต่อต้านยาเสพติด

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น :

กำหนดเสร็จ :

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการคนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
โครงการคนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ยาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้ปัญหายาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งทางด้านการเมือง และความมั่นคงของประเทศประกอบกับกลุ่มเด็กและเยาวชน คนรุ่นใหม่ เป็นวัยที่อยากรู้อยากลอง จึงถูกชักจงให้ใช้สิ่งเสพติดได้ง่าย จากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ทำให้คนเกิดอารมณ์เครียด มีปัญหาทางด้านจิตใจ จึงทันไปใช้สิ่งเสพติดเพื่อลดความเครียดของจิตใจลง ในสังคมและชุมชน นอกจากให้ความรู้ในด้านต่างๆ แก่เยาวชนแล้วยังต้องมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพพลานามัยให้สมบูรณ์อยู่เสมอ แต่ในสภาพปัจจุบันปัญหายาเสพติดซึ่งมาในรูปแบบและวิธีการต่างๆ แพร่หลายเช้าไปสู่เยาวชน ทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา มากยิ่งขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดดังกล่าวมิให้เกิดขึ้นเนื่องด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรูโทษที่ร้ายแรงของยาเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและปลูกฝังคุณธรรมให้แก่แก่เด็ก เยาวชนในการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14520.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,520.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>