กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการห่วงใย ใส่ใจสุขภาพผู้พิการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้ด้านการป้องกันและการดูแลสุขภาพให้แก่คนพิการ 2. เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการมีควานรู้และทักษะในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น :

กำหนดเสร็จ :

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการห่วงใย ใส่ใจสุขภาพผู้พิการ

ชื่อกิจกรรม
โครงการห่วงใย ใส่ใจสุขภาพผู้พิการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ปัจจุบันนี้ ปัญหาด้านเศรษฐกิจทำให้มีผลกระทบต่อบุคคลทั่วไป รวมทั้งคนพิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ จึงเป็นภาระต่อครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่างๆให้กับคนพิการ ส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้พิการยังชาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ทำให้คนพิการบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต ชาดกำลังใจในการดำรงชีวิต บางคนถึงกับไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไปและบางส่วนถูกทอดทิ้งให้ดำเนินชีวิตอยู่ที่บ้านตามลำพัง เนื่องจากบุคคลในครอบครัวต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้านหรือต่างจังหวัด นับเป็นปัญหาที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูแลกลุ่มผู้พิการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผูพิการ ต้องได้รับการดูแลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้พิการ รวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแลเพื่อให้มีผู้ดูแลผู้พิการอย่างต่อเนื่อง ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการต้องใด้รับการดูแล ตลอดจนเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้พิการในซุนซุนที่ดีขึ้น         ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 8 ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ เพื่อให้ผู้พิการได้รับการช่วยเหลือได้อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการห่วงใย ใสใจสุขภาพผู้พิการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>