กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน รหัส กปท. L5294

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต Plus สู่ 2,500 วัน พิชิตแม่ตั้งครรภ์และเด็กสุขภาพดี ประจำปีงบประมาณ 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน
กลุ่มคน
นางสาวสรวีย์ ตาเดอิน
3.
หลักการและเหตุผล

รัฐบาลได้กําหนดนโยบายในการพัฒนาที่มุ่งพัฒนาคนในทุกมิติตามความเหมาะสมในแต่ละชวงวัยกำหนดให้มีการ พัฒนา คนไทยให้มีความพร้อมในการดํารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้คนไทยในอนาคตเป็นพลัง ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมีแบบแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพให้มีความสมบูรณ์เป็นคนดีมีวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยจั ด ให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์ (Human capital) จะส่งผลต่อการขับเคลื่อนประเทศ ไทยในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาเด็กไทยเพื่อให้สอดรับกับนิยามของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ที่ว่า “ คน ไทยมีปัญญาเฉียบแหลม มีทักษะที่เห็นผล มีสุขภาพแข็งแรงและมีจิตใจที่งดงาม ” ต้องเริ่มในช่วงเวลาที่ เรียกว่า 1,000 วันแรกของชีวิต เพราะเป็นช่วงเวลาทอง (Golden period) ในการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคมของเด็ก 1,000วันแรกของชีวิตคือ ช่วงเวลาตั้งแต่การปฏิสนธิ และตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด (270 วัน)รวมกับช่วงเวลาตั้งแต่แรกคลอดจนถึงอายุ ๕ปีบริบูรณ์ 1,000 วันแรกของชีวิตPlus สู่ ๒,๕๐๐วันเป็นที่รากฐาน สำคัญของชีวิต เพราะเป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนาทางร่างกาย สมอง จิตใจและสังคม เนื่องจากเป็นช่วงเวลา ที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง เพิ่มเซลล์สมอง และควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับ โภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับความรัก ความอบอุ่นจากการเลี้ยงลูกด้วยวิธีที่ถูกต้อง จะทำให้ทารก เจริญเติบโต และพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิตมีเป้าหมายคือการพัฒนาทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์ มารดาจนคลอดออกมาและเจริญเติบโตอายุครบ๕ ปีบริบูรณ์ทั้งนี้เป็นการพัฒนาทารกให้ครบทั้ง๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยผลักดันให้เกิดการลงทุนการทำงานเป็นทีม (Teamwork) และการทำงานร่วมกัน (Collaboration) ของภาคีเครือข่ายในพื้นที่โดยมีทีมที่เรียกว่า ทีม พัฒนาเด็กและครอบครัว (Child and Family care Team) หรือเรียกสั้นๆว่า ทีม CFT เป็นกลไกสำคัญใน การขับเคลื่อนงานให้สำเร็จ โดยให้ความสำคัญกับแม่และเด็กเป็นสำคัญ (Mother and Child Oriented) มากกว่าตัวชี้วัดใดๆ และทำการส่งมอบเด็กอายุ ๒ ปีบริบูรณ์ที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง สูงดีสมส่วนฟัน ครบ ๑๒ ซี่ไม่ผุ ไม่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดต่อครบตามเกณฑ์ที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัยให้กับชุมชนและเข้าสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพร้อมที่จะเจริญเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีมี คุณภาพของประเทศต่อไปโดยมีกลไกในการทำงานหลักการสำคัญของการดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี คือ การสร้างเด็กปฐมวัยที่มี พัฒนาการเต็มตามศักยภาพด้วยการใช้ครอบครัวเป็นฐาน โดยเน้นการสร้างครอบครัวที่อบอุ่นกล่าวคือ ครอบครัวมีศักยภาพที่สามารถดูแลสมาชิกในครอบครัวได้ เราจึงต้องกระตุ้นมารดาและบิดาให้ตระหนักใน บทบาทหน้าที่ของครอบครัวที่มีต่อสมาชิก เกิดการดูแลเลี้ยงดูบุตรด้วยความเอาใจใส่ ความรัก ความอบอุ่น และให้ความสำคัญกับสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ในกรณีที่ครอบครัวไม่พร้อม มีศักยภาพไม่เพียงพอในการดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ก็ให้พิจารณาจากองค์กรชุมชน ภาคีเครือข่ายและกลุ่มจิตอาสาต่าง ๆ มาทำหน้าที่สนับสนุน ให้การ ช่วยเหลือ นั่นคือ การใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน (Family and Community-based)เราเรียกชื่อ ทีมในชุมชนนี้ว่า ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (Child and Family Team : CFT) ซึ่งมีบทบาทและ หน้าที่ที่สำคัญคือ การติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมหลังคลอด เฝ้าระวังและตรวจคัดกรองพัฒนาการ เด็ก ส่งเสริมพัฒนาการเด็กในกรณีที่พบว่าล่าช้า เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและสุขภาพช่องปาก ส่งเสริม และร่วมกิจกรรม “ กิน กอด เล่น เล่า ” รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพของครอบครัว รับฟังปัญหาของครอบครัว ด้วยการประเมินกาย จิต สังคม (Bio – Psycho – Social Assessment )ตลอดจนทำการวาง แผนดูแล (Care plan)เพื่อหาวิธีแก้ไขและแนวทางช่วยเหลือต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด - 5 ปี ให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์ มีสติปัญญาและศักยภาพที่ดี
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 หญิงตั้งครรภ์และบุคคลในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการเอาใจใส่ดูแล สตรีตั้งครรภ์และเด็ก 0 - 5 ปีรวมทั้งการสร้างความผูกพันระหว่างเด็ก ครอบครัวและชุมชน
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้และทักษะในการจัดอาหารเพื่อบริโภคตามหลักโภชนาการ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อสร้างความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆ ในการเพิ่มศักยภาพของครอบครัวใน การดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็ก 0 - 5 ปี รวมทั้งร่วมกันแก้ไขปัญหาและหาทางออกให้กับครอบครัว
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็ก
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อสร้างโอกาสการพัฒนาและลดความเหลื่อมล้ำด้วยการเพิ่มการเข้าถึงบริการทางสังคมที่พึง ได้รับในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็ก 0 – 5 ปี
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของเด็ก 0 – 5 ปี มีภาวะโภชนาการที่เป็นไปตามวัย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. จัดกิจกรรมประชุมคณะทำงาน การลงพื้นที่สำรวจข้อมูล และผู้ที่เกี่ยวข้อง
    รายละเอียด
    1. ค่าป้ายโครงการ  จำนวน  1 ป้าย                 เป็นเงิน  500 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน  25 คน         เป็นเงิน  625 บาท
    3. ค่าวัสดุ – อุปกรณ์ (ปากกา สมุด เอกสาร กระเป๋า) จำนวน  25 ชุดๆละ 80 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
    4. ค่าแบบสำรวจข้อมูล  จำนวน  ๒๐๐ ชุดๆละ 5 บาท           เป็นเงิน 1,000 บาท                                                                     รวมเป็นเงิน  4,125 บาท
    งบประมาณ 4,125.00 บาท
  • 2. 2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ ผู้ดูแลเด็ก จำนวน (แยกอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย)
    รายละเอียด

    1.    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน  200 คน          เป็นเงิน 10,000 บาท     2.  ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน  200 คนละ 50 บาท                         เป็นเงิน  10,000 บาท     3.  ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน  3 วันๆละ 5 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท                 เป็นเงิน  4,500 บาท                                         รวมเป็นเงิน  24,500  บาท

    งบประมาณ 24,500.00 บาท
  • 3. 3. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมพัฒนาการสำหรับเด็ก
    รายละเอียด
    1. จัดหาชัดเสริมพัฒนาการสำหรับเด็ก  จำนวน  88 คนๆละ  120 บาท         เป็นเงิน  10,560 บาท
    งบประมาณ 10,560.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 42 คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 119 คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 119 คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 39,185.00 บาท

หมายเหตุ : กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมประชุมคณะทำงานการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล และผู้ที่เกี่ยวข้อง 1. ค่าป้ายโครงการจำนวน1 ป้าย เป็นเงิน500 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน25 คน เป็นเงิน625 บาท 3. ค่าวัสดุ – อุปกรณ์ (ปากกา สมุด เอกสาร กระเป๋า) จำนวน25 ชุดๆละ 80 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 4. ค่าแบบสำรวจข้อมูลจำนวน๒๐๐ ชุดๆละ 5 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน4,125 บาท กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ผู้ดูแลเด็กจำนวน (แยกอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย) 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน200 คน เป็นเงิน 10,000 บาท 2. ค่าอาหารกลางวันจำนวน200 คนละ 50 บาท เป็นเงิน10,000 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน3 วันๆละ 5 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท รวมเป็นเงิน24,500บาท กิจกรรมที่3จัดกิจกรรมเพื่อเสริมพัฒนาการสำหรับเด็ก 1. จัดหาชัดเสริมพัฒนาการสำหรับเด็กจำนวน88 คนๆละ120 บาท เป็นเงิน10,560 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น39,185บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เกิดคณะทำงานโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตPlus สู่ 2,500 วันพิชิตคุณภาพเด็กสุขภาพดี
2.หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 3.เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ 4.เด็กอายุ 0 -5 ปี สูงดีสมส่วนและมีพัฒนาการตามวัย 5.หญิงตั้งครรภ์ และเด็กบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ และมีน้ำหนักตามเกณฑ์ 6.หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอด เด็ก 0 – 5 ปีได้รับการดูแลโดยผู้บริหารท้องถิ่น และผู้ที่เกี่ยวข้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน รหัส กปท. L5294

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน รหัส กปท. L5294

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 39,185.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................