กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อย 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้านชุมชน และประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องต่อไป
ตำบลเกาะเปาะ เป็นตำบลของอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งสิ้นจำนวน 3 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 3,324 คน แบ่งเป็นชาย 1,636 คน หญิง 1,688 คน โดยแบ่งเป็น หมู่ 1 บ้านเกาะเปาะเหนือ จำนวน 919 คน หมู่ 2 บ้านเกาะเปาะใต้ จำนวน 1,431 คน หมู่ 3 บ้านใหม่ จำนวน 974 คน และเด็ก 0-5 ปี มีจำนวนทั้งหมด 223 คน หมู่ 1 บ้านเกาะเปาะเหนือ จำนวน 77 คน หมู่ 2 บ้านเกาะเปาะใต้ จำนวน 85 คน หมู่ 3 บ้านใหม่ จำนวน 61 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ กรีดยาง พนักงานโรงงาน รับจ้างทั่วไป รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน 6,000 - 8,000 บาท และมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีโรงเรียนในพื้นชุมชน ทั้งหมด 2 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านเกาะเปาะ และโรงเรียนบ้านใหม่พัฒนวิทย์ มีศูนย์พัฒนาเด็กเล้กจำนวน 1 แห่ง
การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะในปีงบประมาณ 2568 จากข้อมูล HDC พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ตามเป้าหมาย จำนวน 179 คน รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 21.23 ไม่รับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 78.77

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เรื่องการให้บริการวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี

1.ร้อยละ 70 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เรื่องการให้บริการวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี

85.00 30.00
2 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ร้อยละ 80 เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

85.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 135
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจและรวบรวมข้อมูลเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ครอบคลุมถูกต้องและเป็นปัจจุบัน เพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่พื้นที่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสำรวจและรวบรวมข้อมูลเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ครอบคลุมถูกต้องและเป็นปัจจุบัน เพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่พื้นที่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสำรวจและรวบรวมข้อมูลเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ครอบคลุมถูกต้องและเป็นปัจจุบัน เพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่พื้นที่ชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลเกาะเปาะ มีระบบการติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนตำบลเกาะเปาะปลอดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการแก่ อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการแก่ อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการแก่ อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข -ค่าป้ายโครงการขนาด 1.0 x 3.0 เมตร จำนวน 1 ผืน  เป็นเงิน 750 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่อง จำนวน 50 คน  อัตรามื้อละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,500 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน อัตรามื้อละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 1 วัน  เป็นเงิน 3,500 บาท
-ค่าถ่ายเอกสารคู่มือ จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 8 บาท เป็นเงิน 400 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์
     -แฟ้มใส่เอกสาร จำนวน 50 ใบ ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 750 บาท
     -ปากกา จำนวน 50 ด้าม ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท
                  รวมเป็นเงิน  7,150  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลเกาะเปาะ มีระบบการติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนตำบลเกาะเปาะปลอดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7150.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 85 คน อัตรามื้อละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 5,100 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 85 คน อัตรามื้อละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 5,950 บาท
-ค่าวิทยากรในการอบรม วันละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 วัน จำนวน 1 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
              รวมเป็นเงิน 12,850  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 สิงหาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลเกาะเปาะ มีระบบการติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนตำบลเกาะเปาะปลอดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12850.00

กิจกรรมที่ 4 สร้างระบบการติดตามให้เด็กกลุ่มเป้าหมายรับวัคซีน

ชื่อกิจกรรม
สร้างระบบการติดตามให้เด็กกลุ่มเป้าหมายรับวัคซีน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สร้างระบบการติดตามให้เด็กกลุ่มเป้าหมายรับวัคซีน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลเกาะเปาะ มีระบบการติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนตำบลเกาะเปาะปลอดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 เสริมแรงจูงใจแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ปกครองนำมารับวัคซีนที่ รพ.สต.ทุกครั้ง

ชื่อกิจกรรม
เสริมแรงจูงใจแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ปกครองนำมารับวัคซีนที่ รพ.สต.ทุกครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เสริมแรงจูงใจแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ปกครองนำมารับวัคซีนที่ รพ.สต.ทุกครั้ง -ประกาศนียบัตร

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลเกาะเปาะ มีระบบการติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนตำบลเกาะเปาะปลอดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลเกาะเปาะ มีระบบการติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนตำบลเกาะเปาะปลอดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน


>